กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการฟันแท้สวยสดใส ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ โครงการฟันแท้สวยสดใส

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-1-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฟันแท้สวยสดใส จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันแท้สวยสดใส



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (2) 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสาธารณสุขแก่หญิงตั้งครรภ์ หมอฟันน้อย อสม. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๘๕ คน แบ่งเป็น หญิงตั้งครรภ์ ๑๕ คน หมอฟันน้อย ๕๐ คน อสม. ๑๕ คน เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข ๕ คน
๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา ๓. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมกับเครือข่าย

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจทันตสุขภาพของประชาชนตามกลุ่มอายุในเขต รพ.สต.บ้านเขาแดง ปี2560 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีเด็กฟันผุร้อยละ 65.02 ซึ่งนับว่าสูงมากเมื่อเทียบกับระดับประเทศ(ร้อยละ 48.20) ระดับจังหวัด(ร้อยละ60.37) ในกลุ่มเด็กอายุ 12 ปีในเขต มีร้อยละของเด็กฟันผุ 33.33 เทียบกับระดับประเทศ(ร้อยละ 66.50) และระดับจังหวัด (ร้อยละ54.06) ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่า การดำเนินงานโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากเด็กวัยเรียนที่ผ่านมา ยังไม่ได้ผลเท่าที่ควร บอกถึงการทำงานแบบตั้งรับของทันตบุคคล การป้องกันโรคที่มีรูปแบบตายตัวและเหมือนกันในทุกพื้นที่ ไม่สามารถเข้าถึงและไม่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตประชาชน ประสิทธิภาพของกิจกรรมที่ค่อนข้างต่ำ ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากควรให้ความสำคัญกับตัวบุคคลนั้นๆ และผู้มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงดูเด็ก ดูแลให้เหมาะสมต่อบริบทที่หลากหลาย มิใช่เพียงการให้มุมมองของทางการแพทย์ รวมถึงการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและมีความเหมาะสมกับบริบทของชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
  2. 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดี และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
    2. กลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ ได้รับบริการ ทันตกรรม และส่งต่อมารับการรักษาที่จำเป็นที่โรงพยาบาล
    3. กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรงฟันด้วยตนเองได้อย่างถูกวิธี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. 1. อบรมหมอฟันน้อย จำนวน 50 คน 2. อบรมหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คน 3. เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข จัดกิจกรรมwalk rally จำนวน 5 คน

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ ๙๐.๖๙
    ๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๑๐๐ ๓. กลุ่่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากประเมินทุก๓ เดือน ร้อยละ ๕๐

     

    80 0

    2. 1. ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มเป้าหมาย 2. สอนทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีและย้อมสีฟัน 3. ทาฟลูออไรด์วานิช

    วันที่ 10 พฤษภาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

    ๑.ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มเป้าหมาย ๒.สอนทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิะีและย้อมสีฟัน ๓.ทาฟลูออไรดฺวานิช

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ ๙๐.๖๙
    ๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี ร้อยละ ๑๐๐ ๓. กลุ่่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากประเมินทุก๓ เดือน ร้อยละ ๕๐

     

    340 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ ๙๐.๖๙ (เป้าหมาย ๒๐๔ คน ผลงาน ๑๘๕คน) ๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีร้อยละ ๑๐๐ (เป้าหมาย ๘๐ ผลงาน ๘๐คน) ๓. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังการประะเมินทุก ๓ เดือน ร้อยละ ๕๐

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
    ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
    60.69

    กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ร้อยละ ๙๐.๖๙

    2 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเป้าหมายมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังจากการประเมินทุกๆ 3 เดือน
    100.00

    กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีร้อยละ ๑๐๐ มีการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีหลังการประเมินทุก ๓ เดือน ร้อยละ ๕๐

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 245
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 180
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (2) 2. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ด้านทันตสาธารณสุขแก่หญิงตั้งครรภ์ หมอฟันน้อย อสม. มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๘๕ คน แบ่งเป็น หญิงตั้งครรภ์ ๑๕ คน หมอฟันน้อย ๕๐ คน อสม. ๑๕ คน เจ้าหน้าที่ทันตสาธารณสุข ๕ คน
    ๒. กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา ๓. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมกับเครือข่าย

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฟันแท้สวยสดใส จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-1-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายประชา หนูหมาด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด