กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางนุชจดา ขำเจริญ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5295-2-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2560 ถึง 30 พฤศจิกายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่1. อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. อบรมเชิงปฏิบัติการ มุมเรียนรู้ัไข้เลือดออก 2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3. ประกวดหลังคาเรือนที่ไม่พบลูกน้ำ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมในเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ความตระหนักของประชาชนในพื้นที่เป้นสิ่่งสำคัญในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง เป็นกิจวัตรประจำวัน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกอำเภอทุ่งหว้า จำนวน 464 ราย คิดเป็นร้อยละ 1,893.88 ต่อแสนประชากร และพบผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออกจำนวน 164 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3,877.07 ต่อแสนประชากร ซึ่งโรคไข้เลือดออกหากไม่มีการป้องกันและรักษาที่ทันท่วงที อาจเกิดการระบาดและอันตรายถึงชีวิตได้ จึงมีการดำเนินกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกโดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และหากเกิดโรคสามารถส่งต่อการรักษาได้อย่างทันท่วงทีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.พบผู้ป่วยน้อยลงจากปีก่อนหน้า หรือไม่พบผู้ป่วยเลย 2.ประชาชนสามารถป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ด้วยตนเอง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ประชาชนมีความรุ้เรื่องโรคไข้เลือดออกและมีการป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันโรคไข้เลือดออกร้อยละ 80
    80.00

     

    2 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2. หากพบผู้ป่วย สามารถควบคุมโรคได้ภายใน28 วัน 3. ค่า HI น้อยกว่า 10

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ เข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่1. อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม. อบรมเชิงปฏิบัติการ มุมเรียนรู้ัไข้เลือดออก 2. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3. ประกวดหลังคาเรือนที่ไม่พบลูกน้ำ

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมในเครือข่ายสุขภาพในชุมชน ความตระหนักของประชาชนในพื้นที่เป้นสิ่่งสำคัญในการกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง เป็นกิจวัตรประจำวัน

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชุมชนร่วมใจ ป้องกันภัยไข้เลือดออก จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5295-2-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางนุชจดา ขำเจริญ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด