กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี


“ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี ”

ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายนพพล กองเอียด

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี

ที่อยู่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งนารี อำเภอป่าบอน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,685.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งนารี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญตั้งแต่ในระดับครัวเรือนชุมชน จนถึงระดับประเทศสาเหตุเนื่องจากจำนวนประชากรที่มากขึ้น มีการขยายถิ่นฐานที่อยู่การผลิตวัสดุมาทดแทนสิ่งของที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ถุงพลาสติกกล่องโฟมหรือผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมาเพื่อเป็นอุปกรณ์ประกอบสำหรับเครื่องมืออิเลคทรอนิคเมื่ออุปกรณ์เหล่านี้เสื่อมสภาพหรือหมดอายุก็จะกลายเป็นขยะที่สำคัญของปัญหาขยะ คือ พฤติกรรมของประชาชน ที่ไม่สามารถจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดความ ตระหนักถึงพิษภัยหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นหรืออาจจะเกิดจากพฤติกรรมที่ปฏิบัติต่อเนื่องกันมาจนชินเป็นนิสัยถาวรสิ่งเหล่านี้ก่อให้เกิดปัญหาของการจัดการขยะในระดับชุมชนผลเสียที่ตามมาที่เห็นได้ง่าย ๆได้แก่ความสกปรก ไม่สวยงามของบ้านเรือนชุมชนขาดความเป็นระเบียบเรียบร้อยการชุมชุมของแมลงสัตว์นำโรคก่อให้เกิดโรคระบาด เช่น โรคไข้เลือดออกมือเท้าปากเปื่อย ตาแดงโรคฉี่หนู ซึ่งโรคดังกล่าวพบว่าเกิดขึ้นบ่อยในเขตบริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนารี และหมู่บ้านใกล้เคียง การจัดการขยะจึงน่าจะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดปัญหาเหล่านี้ได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งนารีจึงจัดทำโครงการการจัดการขยะในชุมชน ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ชุมชนทราบสถานการการกำจัดขยะในชุมชน
  2. เพื่อให้ชุมชนสามารถแก้ปัญหาขยะได้ตรงปัญหาที่แท้จริง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย่อย การเยี่ยมบ้าน อสม.และผู้นำชุมชน เพื่อดูระบบการจัดการขยะของครัวเรือน
  2. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อชี้แจงการสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในระดับครัวเรือนและระดับชุมชน
  3. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
  4. ประชุมคืนข้อมูลสู่ชุมชน
  5. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 122 ซม.* 244 ซม. เพื่อเป็นป้ายรณรงค์ใหเก้หมู่่บ้าน ได้จำนวน 2 หมู่่บ้าน
  6. กิจกรรม การคัดแยกขยะ จัดซื้อทำที่เก็บขยะและโครงเหล็กตั้งที่เก็บขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 460
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1…ชุมชนได้รับทราบสถานการณ์ของการจัดการขยะในชุมชนทราบถึงพฤติกรรมของประชาชนในการจัดการขยะระดับครัวเรือน 2. ชุมชนสามารถนำข้อมูลที่ได้มาแก้ปัญหาเกี่ยวกับขยะได้ตรงจุด 3. สามารถลดโรคที่เกิดจากปัญหาการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้องได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อชี้แจงการสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในระดับครัวเรือนและระดับชุมชน

วันที่ 1 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงการดำเนินงานตามโครงการและชี้แจงการจัดเก็บข้อม โดยใช้แบบสำรวจการจัดการขยะของครัวเรือน  แก่  อสม. ในพื้นที่ที่รับผิดชอบจำนวน  72 คน พร้อมด้วยผู้ที่เกี่ยวข้อง 2.กำหนดการจัดเก็บข้อมูล  โดยแบ่งตามเขตรับผิดชอบของ อสม.แต่ลพคน คนละประมาณ  10-15 หลัง  ตั้งแต่วันที่ 1ธ.ค.- 8 ธ.ค.60 3.นัดรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล    13  ธ.ค.60 4.แจกจ่ายแบบสำรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดจ้างถ่ายเอกสารแบบสำรวจจำนวน  530 ชุด  ชุดละ 2  บาท  จ่ายให้กับ อสม.ตามจำนวนครัวเรือนที่ อสม.รับผิดชอบ 

 

75 0

2. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล

วันที่ 13 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

นัดประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  เพื่อรวบรวมข้อมูลและร่วมวิเคราะห์ข้อมูล  มีค่าอาหารว่าง  จำนวน 20 คน * คนละ 25 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุม อสม.จำนวน 20 คน  เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการสำรวจ

 

20 0

3. จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 122 ซม.* 244 ซม. เพื่อเป็นป้ายรณรงค์ใหเก้หมู่่บ้าน ได้จำนวน 2 หมู่่บ้าน

วันที่ 25 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

1.ออกแบบป้ายประชาสัมพันธ์ 2.ติดต่อร้านเพื่อจ้างทำป้าย 3.ร้านเสนอราคาทำป้าย
4.สั่งจ้างทำป้ายตามระเบียบ  รับป้าย จ่ายเงิน 5.นำป้ายติดประชาสัมพันธ์  โดยมอบให้หมู่บ้านดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีป้ายประชาสัมพันธ์  ขนาด  1.22 * 2.44  ม.  จำนวน  2 ป้าย 2.โครงการจัดการขยะในชุมชน มีป้ายประชาสัมพันธ์  เป็นเครื่องหมือหนึ่งในการรณรงค์ในโครงการ

 

2 0

4. กิจกรรม การคัดแยกขยะ จัดซื้อทำที่เก็บขยะและโครงเหล็กตั้งที่เก็บขยะ

วันที่ 28 ธันวาคม 2560

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อถังขยะและโครงเหล็กใส่ถังขยะ ความจุ  120 ลิตร  ผิวเรียบ สีน้ำเงิน  จำนวน  1 ใบ  และขาตั้งชุดคัดแยกขนาด  120 ลิตร ฝาช่องใส่ถังขยะ  4 ช่อง  (ที่จัดซื้อถังขยะ 1 ใบ เนื่องจากมีขอเดิมอยู่แล้ว 3 ใบ)  จัดตั้งไว้เพื่อสาธิตให้ประชาชนได้เห็นถึงการคัดแยกขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้อถังขยะขนาด120 ลิตร จำนวน 1 ใบ และโครงเหล็กใส่ถังขยะ 4 ช่อง จำนวน 1  อัน ประชาชนได้ทราบถึงวิธีการคัดแยกขยะ

 

0 0

5. ประชุมคืนข้อมูลสู่ชุมชน

วันที่ 22 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

นำข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมและวิเคราะห์คืนสู่ชุมชนโดยแจ้งให้ อสม.ทราบและอสม.นำแจ้งประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต  ได้ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์  ใช้เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมประชาชนในการจัดการขยะ

 

80 0

6. กิจกรรมย่อย การเยี่ยมบ้าน อสม.และผู้นำชุมชน เพื่อดูระบบการจัดการขยะของครัวเรือน

วันที่ 27 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

กำหนดแผนออกประเมิน  โดยมีคณะกรรมการประเมินแบบไขว้  และสุ่มตรวจร้อยละ  50 ของกลุ่มตัวอย่าง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้กำหนดแผนการเยี่ยมบ้าน อสม.และผู้นำชุมชน โดยการประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายทราบ และดำเนินการกำหนดวันออกประเมินโดยมีการแบ่งกลุ่มผู้ประเมิน และสุ่มตัวอย่างจำนวน  36 หลัง  และมีแบบประเมินของกรรมการ  จำนวน  12 ข้อ  คะแนนเต็มข้อละ  5 คะแนน  ได้ผลดังนี้
1 บริเวณบ้านสะอาด ไม่มีขยะเพ่นพ่าน คะแนนเฉลี่ย 3.19 2 มีการเก็บขยะ ใส่ที่เก็บขยะ คะแนนเฉลี่ย 3.64 3 มีการคัดแยกขยะ เป็นประเภท ขยะเปียก ขยะแห้ง ขยะอันตราย ขยะรีไซเกิล คะแนนเฉลี่ย 3.58 4 มีการนำขยะเปียก ไปเลี้ยงสัตว์ หรือใส่โคนไม้ คะแนนเฉลี่ย 3.17 5 มีการนำขยะเปียก ไปทำปุ๋ยหมัก คะแนนเฉลี่ย  2.31 6 มีการนำขยะรีไซเกิลที่ขายได้ไปขาย หรือ มีผู้ซื้อมาซื้อที่บ้าน คะแนนเฉลี่ย 3.67 7 มีการเก็บรวบรวมขยะอันตราย เพื่อส่งกำจัดที่ถูกต้อง คะแนนเฉลี่ย 3.03 8 มีการกำจัดขยะที่ถูกต้อง ได้แก่ การเผา  การฝัง  หรือรวบรวมส่งให้หน่วยงานกำจัด คะแนนเฉลี่ย 3.78 9 มีการหลีกเลี่ยงการใช้ถุงพลาสติก กล่องโฟม คะแนนเฉลี่ย 2.22 10 มีการใช้ถุงผ้า หรือตะกร้า  ใส่ของแทนถุงพลาสติกตอนซื้อของหรือจ่ายตลาด คะแนนเฉลี่ย 2.03 11 มีนวตกรรมการนำขยะกลับมาใช้ใหม่  ระบุ............................................................. คะแนนเฉลี่ย 1.17 12 มีนวตกรรมในการกำจัดขยะ  ระบุ........................................................................... คะแนนเฉลี่ย 1.42

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ให้ชุมชนทราบสถานการการกำจัดขยะในชุมชน
ตัวชี้วัด : ชุมชนที่ประกอบด้วยผู้นำชุมชนอสม. อบต.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้รับทราบสถานการณ์การจัดการขยะจากข้อมูลที่ได้จากการสำรวจและวิเคราะห์

 

2 เพื่อให้ชุมชนสามารถแก้ปัญหาขยะได้ตรงปัญหาที่แท้จริง
ตัวชี้วัด : ผู้นำชุมชน อสม. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องร่วมกับประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาขยะ

 

3
ตัวชี้วัด : สามารถลดปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกโรคตาแดงมือเท้าปาก และโรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 535
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 460
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 75
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ชุมชนทราบสถานการการกำจัดขยะในชุมชน (2) เพื่อให้ชุมชนสามารถแก้ปัญหาขยะได้ตรงปัญหาที่แท้จริง (3)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย่อย การเยี่ยมบ้าน  อสม.และผู้นำชุมชน เพื่อดูระบบการจัดการขยะของครัวเรือน (2) ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อชี้แจงการสำรวจข้อมูลการจัดการขยะในระดับครัวเรือนและระดับชุมชน (3) ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อรวบรวมข้อมูล  วิเคราะห์ข้อมูล (4) ประชุมคืนข้อมูลสู่ชุมชน (5) จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ  ขนาด  122  ซม.*  244  ซม.  เพื่อเป็นป้ายรณรงค์ใหเก้หมู่่บ้าน  ได้จำนวน 2 หมู่่บ้าน (6) กิจกรรม การคัดแยกขยะ  จัดซื้อทำที่เก็บขยะและโครงเหล็กตั้งที่เก็บขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการจัดการขยะในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งนารี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายนพพล กองเอียด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด