กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี


“ โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ ”

ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายทรงพล สารบัญ

ชื่อโครงการ โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ

ที่อยู่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5298-01-001 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 25 ตุลาคม 2564 ถึง 25 พฤศจิกายน 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกตรี อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5298-01-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 25 ตุลาคม 2564 - 25 พฤศจิกายน 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกตรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนผู้ติดเชื้อรายใหม่ไม่น้อยกว่าวันละ 10,000 รายต่อวัน ประชาชนทั่วไปได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขปกติจะรับไม่ไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาตัวผู้ป่วยซึ่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีมาตรการที่สำคัญในการควบคุมโรคโดยมีการค้นหาผู้ติดเชื้อดูแลรักษาแยกกักการกักตัวดูแลรักษาที่บ้านการจัดตั้งศูนย์พักคอยเพื่อเตรียมรองรับผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ก่อนนำส่งโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลสนามโดยร่วมบูรณาการกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชนในการแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ของจังหวัดสตูลพบว่ามีจำนวนผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทุกวัน เนื่องด้วยเกิดคลัสเตอร์ใหม่ ๆ เป็นระยะ ๆ ได้แก่ คลัสเตอร์โรงงานปลากระป๋อง คลัสเตอร์โกลบอลเฮาส์คลัสเตอร์งานศพเป็นต้นซึ่งจากการเกิดคลัสเตอร์ดังกล่าว ทำให้จำนวนผู้ป่วยในพื้นที่มีจำนวนมากโรงพยาบาลที่มีอยู่ในพื้นที่หรือโรงพยาบาลสนามที่จัดตั้งขึ้น ไม่สามารถที่จะรองรับจำนวนผู้ป่วยดังกล่าวได้ ทำให้มีผู้ป่วยที่รอรับการส่งตัวไปรักษาตัวต่อต้องรอเตียงอยู่ที่บ้านส่งผลให้คนใกล้ชิดต้องเสี่ยงกับการติดเชื้อต่อ ๆ กันไป และอาจขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้นดังนั้น การพัฒนาระบบศูนย์พักคอยเตียงเพื่อรอการส่งตัวไปรักษาต่อหรือดูแลผู้ป่วยโควิดแก่คนในชุมชนด้วยการจัดตั้งศูนย์พักคอย (Community Isolation) จึงเป็นทางออกเพื่อการรับมือสถานการณ์ระบาดของโควิด-19 ในพื้นที่เป็นอย่างดี ประกอบกับหนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท 0808.2/ว 4116 ลงวันที่ 19 กรกฏาคม2564 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามอำนาจหน้าที่และเบิกจ่ายงบประมาณได้อย่างถูกต้อง และหนังสือจังหวัดสตูล ด่วนที่สุด ที่ สต 0023.3/ว5487 ลงวันที่ 5 ตุลาคม2564เรื่อง การจัดตั้งสถานที่ในการป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิท-19)เพื่อให้การป้องกัน ควบคุม และรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิท-19)ของจังหวัดสตูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลเกตรี เห็นความตระหนักในเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจเพื่อจัดเตรียมสถานที่ให้ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย (CommunicationIsolation) และพักคอยเตียงสำหรับการส่งตัวไปรับการรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลสนาม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดเตรียมสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยของตำบลเกตรี
  2. เพื่อให้ประชาชนที่มีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการคัดแยก และดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดเตรียมสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ตำบลเกตรีมีศูนย์พักคอยในการพักคอยรอเตียงสำหรับการส่งตัวไปรับการรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลสนาม
  2. ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการคัดแยก ดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย ทำให้ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดสู่ชุมชนในวงกว้าง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดเตรียมสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยของตำบลเกตรี
ตัวชี้วัด : ตำบลเกตรีมีศูนย์พักคอยในการพักคอยรอเตียงสำหรับการส่งตัวไปรับการรักษาต่อยังโรงพยาบาลทั่วไปหรือโรงพยาบาลสนาม
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนที่มีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการคัดแยก และดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รับการคัดแยก ดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย ทำให้ลดความเสี่ยงในการแพร่ระบาดสู่ชุมชนในวงกว้าง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดเตรียมสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยของตำบลเกตรี (2) เพื่อให้ประชาชนที่มีผลบวกติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้รับการคัดแยก และดูแลรักษาผ่านศูนย์พักคอย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดเตรียมสถานที่ในการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดตั้งศูนย์พักคอยใกล้บ้านใกล้ใจ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5298-01-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทรงพล สารบัญ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด