กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
ตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิต 10 พ.ย. 2564 11 ต.ค. 2564

 

ตารางการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโดยจัดบริการในชุมชน รพ.สต.บ้านทุ่งยาว 1.วันที่ 11 ต.ค.64 สถานที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 ผู้รับผิดชอบหลัก นส.ณัฎฐณิชา สมจิตร   วันที่ 11 ต.ค.64 สถานที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 ผู้รับผิดชอบหลัก นางกิตติยา พรหมปาน   วันที่ 11 ต.ค.64 บ้าน อสม.หนูอั้น ไข่ทอง ผู้รับผิดชอบหลัก นายเอนก กลิ่นรส 2.วันที่ 12 ต.ค.64 ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 9 ผู้รับผิดชอบหลัก นส.ณัฎฐณิชา สมจิตร   วันที่ 12 ต.ค.64 บ้าน อสม.ปรียา จิตรเอียด ผู้รับผิดชอบหลัก นางกิตติยา พรหมปาน   วันที่ 12 ต.ค.64 บ้าน อสม.จิตติมาวดี ยังน้อย ผู้รับผิดชอบหลัก นายเอนก กลิ่นรส 3.วันที่ 14 ต.ค.64 รพ.สต.บ้านทุ่งยาว ผู้รับผิดชอบหลัก นส.ณัฎฐณิชา สมจิตร   วันที่ 14 ต.ค.64 ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 7 ผู้รับผิดชอบหลัก นางกิตติยา พรหมปาน   วันที่ 14 ต.ค.64 บ้านนายสายัณห์ ขวัญกลับ ผู้รับผิดชอบหลัก นายเอนก กลิ่นรส 4.วันที่ 15 ต.ค.64 บ้านนายเที่ยง วงศ์ชู ผู้รับผิดชอบหลัก นส.ณัฎฐณิชา สมจิตร   วันที่ 15 ต.ค.64 บ้านนายช่วง สงนวล ผู้รับผิดชอบหลัก นางกิตติยา พรหมปาน   วันที่ 15 ต.ค.64 บ้านอสม.สัญญา เพิ่มบุญ ผู้รับผิดชอบหลัก นายเอนก กลิ่นรส   วันที่ 15 ต.ค.64 บ้านอสม.กันตยา พงษ์อิสโร ผู้รับผิดชอบหลัก นายเอนก กลิ่นรส

 

รูปแบบการจัดบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านทุ่งยาว จัดให้บริการเป็นจุดๆ เพื่อให้ประชาชนสะดวก สามารถเข้าถึงบริการได้มากขึ้นตามตารางกำจัดบริการข้างบนที่กล่าวมาแล้ว ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในการตรวจคัดกรอง โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ในพื้นที่ความรับผิดชอบ คือ หมู่ที่ 1,7,9 ตำบลโคกชะงาย จำนวน 1,3000 คน พบว่าประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ร้อยละ 98.87

 

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 100 คน 15 ธ.ค. 2564 21 ม.ค. 2565

 

การปรับเปลี่ยนพฟติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงจากการคัดกรองกลุ่มเป้าหมาย คือประชาชน อายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 100 คน ที่มีความเสี่ยงสูงและสมัครใจเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ซึ่งปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรคNCDS(No communicable diseases) ได้กลายเป็นปัญหาที่สำคัญในระดับโลก เนื่องด้วยกลุ่มโรคดังกล่าวคร่าชีวิตและบั่นทอนสุขภาพของผู้คน และส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม โดยโรคเหล่านี้ล้วนมีสาเหตุมาจากปัจจัยเสี่ยงที่สามารถป้องกันและแก้ไขได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การผลักดันให้เกิดคลินิกปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (DPAC : Diet & Physical Activity Clinic) ในสถานบริการสาธารณสุขระดับ โดยมีเป้าหมายที่สำคัญ คือ การทำให้ประชาชนมีสุขภาพที่ดี โดยผ่านกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก  3อ. (อ.ออกกำลังกาย อ.อาหาร อ.อารมณ์) 2ส. (ส.สูบบุหรี่ ส.สุรา)

 

ประชาชน อายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 100 คน ที่มีความเสี่ยงสูงและสมัครใจเข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครบทุกคนและจากการคัดกรองน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตซ้ำ พบว่าน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยง ลดลงร้อยละ 63.69 ส่วนความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงลดลง ร้อยละ 59.80 และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว ดำเนินการคลินิกไร้พุงมาอย่างต่อเนื่อง

 

การตรวจคัดกรองซ้ำ/ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองซ้ำพบแพทย์ 4 มี.ค. 2565 26 ม.ค. 2565

 

จัดกิจกรรมติดตามและคัดกรองประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งต่อไปยังแพทยื และดูการเปลี่ยนแปลงพร้อมให้ความรู้ปรังปรุงแก้ไข

 

ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่่ผ่านกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แล้วการตรวจคัดกรองซ้ำ/ส่งต่อกลุ่มเสี่ยงที่ผ่านการคัดกรองซ้ำพบแพทยื พบว่า ผู้เป็นโรคเบาหวานรายใหม่ ร้อยละ 0.15 เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ ร้อยละ 0.23 ซึ่งอัตราป่วยต่ำกว่าเกรฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข แสดงให้เห็นว่าคุณภาพชีวิตของประชาชนในพื้นที่ด้านสาธารณสุขที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังดีกว่าภาพรวมของประเท

 

การเยี่ยมบ้าน/ติดตามประเมิลผล 27 เม.ย. 2565 27 เม.ย. 2565

 

การเยี่ยมบ้านของกลุ่มเสี่ยงสูงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เนื่องจากสถานการณ์การรับาดของโรคโควิด 19

 

มีติดตามผลโดยการเยี่ยมบ้านของกลุ่มเสี่ยงสูงด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เนื่องจากสถานการณ์การรับาดของโรคโควิด 19