กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู


“ โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ”

ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายณัฐวุฒิ โตะดิน

ชื่อโครงการ โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล

ที่อยู่ ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 11022560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปูยู อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 11022560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปูยู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องดำเนินการ เนื่องจากส่งผลต่อการรักษาผู้ป่วย ในด้านประสิทธิผล คุ้มค่า ปลอดภัย และสามารถลดการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ และปัญหาเชื้อดื้อยา องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของ “การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลผล(rational drug use)” ไว้ คือ “ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายด้วยระยะเวลาการรักษาที่ เหมาะสม และมีค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด” “Patients receive medications appropriate to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements, for an adequate period of time, and at the lowest cost to them and their community” (WHO, 1985ซึ่งสอดคล้องกับคำจำกัดความตามคู่มือการใช้ยาอย่าง สมเหตุผลตามบัญชียาหลักแห่งชาติ: 2552 ที่ขยายความว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุผล หมายถึง การใช้ยา โดยมีข้อบ่งชี้เป็นยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ ให้ประโยชน์ทางคลินิก เหนือกว่าความเสี่ยงจาการใช้ยาอย่างชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขไม่เป็น การใช้ยาอย่างซ้ำซ้อนคำนึงถึง ปัญหาเชื้อดื้อยา
ในประเทศไทย การใช้ยาอย่างไม่สมเหตุผลเกิดขึ้นทั้งในสถานพยาบาล และชุมชน นับเป็นปัญหาระดับชาติมานานหลายทศวรรษที่สำคัญ เช่นการบริโภคยาปฏิชีวนะโดยพบว่าประชาชนใช้ยา ปฏิชีวนะรักษาโรคหวัดซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัสอย่างแพร่หลาย ประมาณร้อยละ 40-60 ในต่างจังหวัด และร้อยละ 70-80 ใน กรุงเทพมหานคร แม้การส่งเสริมใช้ยาอย่างสมเหตุผลมีการดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มมีนโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ. 2524 ก็ตาม แต่ก็ยังไม่เกิดผลสัมฤทธิ์เท่าที่ควร ซึ่งสาเหตุสำคัญประการหนึ่งเกิดจากการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างไม่สมเหตุสมผล ประชาชนไม่มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะ ส่งผลให้เกิดพฤติกรรมการใช้ยาที่ไม่ถูกต้อง เช่น การซื้อยาใช้เอง การร้องขอยาจากแพทย์ การใช้ยาผิดข้อบ่งชี้ ทำให้เกิดปัญหาเชื้อดื้อยาซึ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นในประเทศไทย
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมปัญหาการดื้อยาและการใช้ยาไม่สมเหตุสมผล ชมรมอาสาสมัครสาธารณะสุขหมู่ที่2 จึงได้จัดทำโครงการขึ้นเพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจตระหนัก เกี่ยวกับการใช้ยาปฏิชีวนะเป็นการป้องกันและควบคุมปัญหาการดื้อยาและการใช้ยาที่เหมาะสมแกกลุ่มวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความความเข้าใจการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
  2. 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม เลือกใช้ยาที่เหมะสมกับการเจ็บป่วยได้
  3. 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาซ้ำซ้อนในผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างถูกต้องประชาชนมีความรู้ในการใช้ยาได้เหมาะสมกับการเจ็บป่วย ใช้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความความเข้าใจการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม เลือกใช้ยาที่เหมะสมกับการเจ็บป่วยได้
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาซ้ำซ้อนในผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความความเข้าใจการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (2) 2.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรม เลือกใช้ยาที่เหมะสมกับการเจ็บป่วยได้ (3) 3.เพื่อลดอัตราการใช้ยาซ้ำซ้อนในผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการชาวปูยูร่วมใจใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 11022560

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายณัฐวุฒิ โตะดิน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด