กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกายด้วยแอโรบิค
รหัสโครงการ 65-L5182-02-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านเกาะทาก
วันที่อนุมัติ 17 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลนาหว้า อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 5 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
75.00
2 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สนามฟุตซอลในการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนในโรงเรียน
65.00
3 ร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่ออกกำลังกายในโรงเรียน
65.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันยังพบปัญหานักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นภัยคุกคามที่ส่งผลต่อสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย อีกทั้งจะเป็นปัญหาเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ โดยธรรมชาติของเด็กในวัยเรียนระดับประถมศึกษามีความต้องการที่จะเคลื่อนไหวร่างกายในรูปแบบต่างๆ อย่างน้อยเฉลี่ยวันละ 3 - 4 ชั่วโมง จึงทำให้เกิดการใช้พลังงานที่ไม่สมดุลกับการรับประทานอาหารในแต่ละวัน เมื่อพิจารณาจากสภาพแวดล้อมในโรงเรียนบ้านเกาะทาก พบว่าโรงเรียนมีพื้นที่ที่สามารถใช้สำหรับทำกิจกรรมต่างๆ การเสนอโครงการเพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มนักเรียน โรงเรียนบ้านเกาะทากจึงมีแนวคิด ดังนี้ 1) พัฒนาศักยภาพคณะครูให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกายและสามารถออกแบบกิจกรรมทางกายของนักเรียนได้ 2) พัฒนาศักยภาพของแกนนำนักเรียนให้มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะเกี่ยวกับกิจกรรมทางกาย และสามารถถ่ายทอดให้กับผู้อื่นได้ 3) มีการเพิ่มกิจกรรมทางกายโดยการเต้นแอโรบิค เพื่อให้นักเรียนได้มีการเรียนรู้แบบ Active learning ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

ร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

75.00 80.00
2 เพิ่มร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สนามฟุตซอลในการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนในโรงเรียน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สนามฟุตซอลในการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียนในโรงเรียน

65.00 70.00
3 เพิ่มร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่ออกกำลังกายในโรงเรียน

ร้อยละของนักเรียนและคณะครูที่ออกกำลังกายในโรงเรียน

65.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 13,000.00 0 0.00
1 มิ.ย. 65 รับสมัคร และประชุมคณะกรรมการดำเนินงานเพื่อสร้างกฎ กติกา ข้อตกลงร่วมกันในการจัดตั้งชุมนุมเรารักสุขภาพ (เต้นแอโรบิค) 0 125.00 -
8 มิ.ย. 65 สำรวจสุขภาพของนักเรียน 0 3,750.00 -
8 มิ.ย. 65 - 12 ส.ค. 65 ประเมินสภาวะสุุขภาพก่อน - หลัง 0 0.00 -
15 มิ.ย. 65 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกิจกรรมทางกายที่เหมาะสม 0 3,125.00 -
22 มิ.ย. 65 - 12 ส.ค. 65 ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกาย 0 6,000.00 -
15 ส.ค. 65 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล 0 0.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. นักเรียนมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น
  2. ได้แกนนำนักเรียน/นักเรียนต้นแบบในการเพิ่มการมีกิจกรรมทางกาย
  3. ได้คณะทำงานขับเคลื่อนกิจกรรมทางกาย ประกอบด้วยผู้บริหารโรงเรียน แกนนำครู และแกนนำนักเรียน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 4 พ.ย. 2564 10:00 น.