กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565 ”

ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุรพร โต๊ะสมัน

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5261-4-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5261-4-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่าพระยา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น หรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕61 ลงวันที่ ๑3 กันยายน ๒๕61 ข้อ 10 กำหนดว่า “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ ดังนี้ (4) เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ ต้องไม่เกินร้อยละ ๑5 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรงให้สนับสนุนได้ตามวงเงินตามความจำเป็น และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้นๆ” ประกอบกับหลักเกณฑ์ การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน การจัดทำบัญชีและรายงาน
ส่วนที่ 3 หลักเกณฑ์การกำหนดค่าตอบแทนกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน หรือผู้ดำเนินงาน ข้อ 6 กำหนดอัตราค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าตอบแทนของกรรมการ อนุกรรมการ และคณะทำงาน ไว้ดังนี้ 1) ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับกรรมการหรือที่ปรึกษา ไม่เกินครั้งละ 400 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 800 บาท ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับอนุกรรมการ ไม่เกินครั้งละ 300 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 600 บาท และสำหรับคณะทำงาน ครั้งละไม่เกิน 200 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 400 บาท 2) ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ได้แก่ ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก และค่าพาหนะเดินทางสำหรับกรรมการ
ที่ปรึกษา อนุกรรมการหรือคณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งพนักงานจ้างเหมา (ชั่วคราว) ของกองทุน ให้เบิกจ่ายได้ในอัตราไม่เกินระเบียบของทางราชการโดยอนุโลม 3) วงเงินค่าใช้จ่ายและค่าตอบแทนตาม 1) และ 2) เมื่อรวมกับค่าใช้จ่ายอื่นเพื่อการบริหารหรือพัฒนางานของกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในปีงบประมาณนั้นของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น หากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับเงินเพิ่มตามข้อ 7 วรรคสอง อาจสนับสนุนค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมได้อีกไม่เกินร้อยละ 5 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุวัตถุประสงค์ โดยคำนึงถึงสถานะการคลังของกองทุนฯ จึงได้จัดทำโครง การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสุนนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
  3. เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมคณะกรรมการ/ที่ปรึกษากองทุนฯ
  2. จัดประชุมอนุกรรมการ/คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ
  3. โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา จำนวน 9,600.- บาท
  4. โครงการจัดทำแผนสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนแผนโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา
  5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ทำให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสุนนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง ๒. ทำให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน ๓. ทำให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสุนนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสุนนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง อย่างน้อบ 4 ครั้ง
80.00 0.00

 

2 เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน
90.00 0.00

 

3 เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : มีบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
90.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 19
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 19

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มีการพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสุนนงบประมาณ/รับทราบและติดตามผลการดำเนินงานโครงการของกองทุนฯ อย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อให้มีการรายงานสถานะการเงินทุกไตรมาส ตลอดจนทบทวนปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่  ติดตามการบันทึกรายงานผ่านระบบออนไลน์ให้ถูกต้องและเป็นปัจจุบัน (3) เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการ/ที่ปรึกษากองทุนฯ (2) จัดประชุมอนุกรรมการ/คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบในการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนฯ (3) โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา จำนวน 9,600.- บาท (4) โครงการจัดทำแผนสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนแผนโครงการเพื่อของบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา (5) ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลท่าพระยา ปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5261-4-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุรพร โต๊ะสมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด