กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

3.1. มีการประชุมวางแผน ของเจ้าหน้าที่ อสม.และผู้ที่เกี่ยวข้อง ในการลงพื้นที่เขตเทศบาลนครสงขลา เพื่อป้องกัน และควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
3.2 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ยาและเวชภัณฑ์ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) ให้เพียงพอและพร้อมใช้งาน 3.3 ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้กับประชาชนภายในเขตเทศบาลนครสงขลา ในการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) 3.4 สนับสนุนอุปกรณ์ในการเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19) ให้กับโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานต่างๆ 3.5 ดำเนินการเฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงใน Local Quarantine 3.6 ดำเนินการคัดกรอง เฝ้าระวังและสังเกตอาการกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 3.7 ติดตามสถานการณ์ เพื่อวางแผนการดำเนินงานในการเฝ้าระวังโรคไวรัสโคโรนา ๑๙ (COVID-19)     3.8 กิจกรรมการดูแลเฝ้าระวังกลุ่มป่วย-กลุ่มเสี่ยง     3.8.1 การลงปฏิบัติงานเชิงรุก เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) งานป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ ร่วมกับ PCU ชลาทัศน์ กุโบร์ พาณิชย์ สมิหลา  ใจกลาง โรงพยาบาลสงขลา สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสงขลา (ตามแผนปฏิบัติการ) - ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 เมษายน 2564 – 30 กันยายน 2564 จำนวน 1,904 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 16 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.84 - ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 31 มกราคม 2565 จำนวน 2,013 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 9 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.44
- ผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 – 31 สิงหาคม 2565 จำนวนผลการตรวจยืนยันแบบ RT-PCR จำนวน 876 ราย และการตรวจหาเชื้อแบบ Antigen Test Kit (ATK) จำนวน 9,780 ราย มีผู้เสียชีวิต จำนวน 0 ราย คิดเป็น ร้อยละ 0.00 3.9 กิจกรรมกลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine
- โดยมีการวัดอุณหภูมิร่างกาย 2 เวลา ตั้งแต่ 08.00 น. และ 16.00 น. ของทุกวัน
- มีการจ่ายยาตามอาการของผู้เข้ารับการกักตัว
- แนะนำการสังเกตอาการของตนเอง และการปฏิบัติตนเมื่อเข้ารับการกักตัวที่ Local Quarantine - ตรวจ Swab ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2 ให้แก่กลุ่มเสี่ยงที่เข้ารับการกักตัว - ดูแลเรื่องของอาหารของผู้กักตัว - จัดการขยะติดเชื้อ และขยะทั่วไป รวมถึงการดูแลเรื่องความสะอาด สภาพแวดล้อมที่ของ Local Quarantine - ประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงพยาบาลสงขลา เพื่อส่งต่อผู้ป่วยที่พบเชื้อ และการตรวจหาเชื้อของกลุ่มเสี่ยงที่กักตัว รวมถึงผล Lab ของกลุ่มเสี่ยง
3.9.1 กลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine ศูนย์ฝึกอบรมและพัฒนาการกีฬา อบจ.สงขลา มีจำนวน ผู้เข้ารับการกักตัว ตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 – 30 ธันวาคม 2564 จำนวน 236 ราย    พบ Positive 66 ราย ดังนี้ - เดือน กรกฎาคม 2564 จำนวน 26 ราย พบ Positive 1 ราย - เดือน สิงหาคม 2564 จำนวน 59 ราย พบ Positive 11 ราย - เดือน กันยายน 2564 จำนวน 42 ราย พบ Positive 7 ราย - เดือน ตุลาคม 2564 จำนวน 42 ราย พบ Positive 20 ราย - เดือน พฤศจิกายน 2564 จำนวน 47 ราย พบ Positive 25 ราย - เดือน ธันวาคม 2564 จำนวน 20 ราย พบ Positive 2 ราย 3.9.2 กลุ่มเสี่ยงที่พักใน Local Quarantine ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (สโมสรเขาน้อย) มีจำนวน ผู้เข้ารับการกักตัว ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 มกราคม 2565 จำนวน 138 ราย  พบ Positive 108 ราย ดังนี้ - เดือน ตุลาคม 2564 จำนวน 65 ราย พบ Positive 63 ราย - เดือน พฤศจิกายน 2564 จำนวน 47 ราย พบ Positive 44 ราย - เดือน ธันวาคม 2564 จำนวน 14 ราย พบ Positive 1 ราย - เดือน มกราคม 2565 จำนวน 12 ราย พบ Positive 0 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : 1. สามารถลดอัตราป่วย ลง ร้อยละ 10 จากปี 2564
10.00

4.1 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการกักตัว และปฏิบัติตามมาตรการการป้องกันโรคร้อยละ 90 4.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถปฏิบัติตัวตามมาตรการการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

2 2. เพื่อกักตัวและสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง ในศูนย์ LQ ของอำเภอเมือง
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มเสี่ยงได้รับการกักตัว และ ปฏิบัติตามมาตรการ การป้องกันโรค ร้อยละ 90
90.00

4.2 ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงมีความรู้ในการดูแลตนเอง และสามารถปฏิบัติตัวตามมาตรการการป้องกันโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

3 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คำแนะคำ ในการดูแลตนเอง
ตัวชี้วัด : 3. ประชาชนภายในเขตเทศบาล มีความรู้ ความสามารถในการดูแล ตนเอง เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6820 6820
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,820 6,820
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 19 (COVID-19) (2) 2. เพื่อกักตัวและสังเกตอาการของกลุ่มเสี่ยง ในศูนย์ LQ ของอำเภอเมือง (3) 3. เพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ คำแนะคำ ในการดูแลตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh