กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลิซา ปีงบประมาณ 2565
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ องค์การบริหารส่วนตำบลกาลิซา
วันที่อนุมัติ 1 ตุลาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 138,574.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางซารยานี มะดาโอะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.225,101.661place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ
200.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกลสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน       สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47 ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์ เพื่อให้เหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่       ดังนั้น การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตันแทนภาคประชาชนบุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคม และปัญญา       เพราะฉะนั้น เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ มีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลิซา จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลิซา ปีงบประมาณ 2565 ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

ร้อยละ 100 การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

0.00
2 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ

ร้อยละ 100 สนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

0.00
3 เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์

ร้อยละ 100 จัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกข้อมูลและรายงานผ่านระบบออนไลน์

0.00
4 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

ร้อยละ 100 พิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

0.00
5 เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

ร้อยละ 100 ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
รวม 0 0.00 0 0.00
    1. ขั้นตอนวางแผนงาน 2.  กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ /คณะทำงาน 3.    - ร่วมกันประชุมวางแผน กำหนดร่างวาระในการประชุม จำนวนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการและคณะทำงาน 4.    – กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ โดยจะมีการประชุมคณะกรรมการ/ที่ปรึกษา/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี
      5.  กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนหลักประกันสุขภาพ 6.      – ร่วมประชุมวางแผน กำหนดขอบเขต กรอบการจ้างให้เป็นไปตามภารกิจของกองทุนหลักประกันสุขภาพ 7.      – กำหนดคุณสมบัติ ความรู้ความสามารถของลุกจ้างที่จะดำเนินการจ้างเหมา 8.      – กำหนดรูปแบบวิธีการจ้างเหมา การรับสมัคร กรอบอัตราเงินสำหรับการจ้างเหมา 9.      – แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ เพื่อตรวจรับมอบผลงานปฎิบัติงานตามสัญญาหรือข้อตกลงการจ้าง
  1. กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาลิซา
    1. ขั้นตอนการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน 13.      - ติดต่อประสานงานกับคณะกรรมการ เพื่อกำหนดนัดหมาย 14.      – จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุม เช่น ค่าตอบแทนคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 15.      - จัดเตรียมสถานที่ในการประชุม 16.      - สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน
  3. กิจกรรมที่ 2 จ้างเหมาบริการเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนหลักประกันสุขภาพ 18.    - จัดจ้างเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนหลักประกันสุขภาพตามรูปแบบที่กำหนด 19.    - เจ้าหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ดำเนินตรวจรับผลการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ประจำกองทุน ตามกำหนดในสัญญาจ้างเหมา 20.    - เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาให้กับเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนตามอัตราที่กำหนดในสัญญาจ้าง 21.    – รายงานผลการดำเนินงานให้กับคณะกรรมการกองทุนฯทราบ
  4. กิจกรรมที่ 3 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์เพื่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ 23.    - จัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์ อุปกรณ์ประกอบการดำเนินงานตามระเบียบของหน่วยงานโดยอนุโลม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
  3. สามารถบันทึกข้อมูลและรายงานระบบออนไลน์ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
  4. การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านเอกสารมีความครอบคลุม สามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นระเบียบเรียบร้อย สะดวกต่อการใช้งาน
  5. มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 พ.ย. 2564 11:54 น.