กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน
รหัสโครงการ 60-L5171-01-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.เกาะใหญ่
วันที่อนุมัติ 30 สิงหาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 129,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางดรุณี เพชรพันธุ์
พี่เลี้ยงโครงการ นางดรุณี เพชรพันธุ์
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.112,100.364place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนและ นักเรียนในพื้นที่มีความรู้และมี พฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกัน ตนเองจากโรคไข้เลือดออก

 

3 3. เพื่อส่งเสริมให้องค์กรทุกภาคส่วน เห็นความสำคัญของการป้องกัน โรคไข้เลือดออก

 

4 4. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือด ออกในพื้นที่เขตรับผิดชอบของ รพ.สต.เกาะใหญ่

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. เขียนโครงการเพื่อพิจารณาอนุมัติ
  2. แต่งตั้งทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล (SRRT เครือข่ายระดับตำบล) จำนวน 1 ทีม ซึ่งประกอบด้วยบุคลากรสาธารณสุขจาก รพ.สต., อสม., บุคลากรจาก อปท. กลุ่มอื่นๆ เช่น ครูอนามัย ผู้นำชุมชน
  3. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามหลักสูตรพัฒนา SRRT เครือข่ายระดับตำบลแก่ทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล (SRRT เครือข่ายระดับตำบล)
  4. แจ้งข่าวสถานการณ์โรคไข้เลือด-ออก และให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก แก่ประชาชนในเวทีประชาคมหรือเวทีประชุมประจำเดือนของหมู่บ้าน ไตรมาสละ 1 ครั้ง/หมู่บ้าน
  5. ประชาสัมพันธ์ข่าวสารความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก ด้วยการจัดพิมพ์เอกสารสำหรับประชาสัมพันธ์เสียงตามสายของหมู่บ้าน เอกสารแผ่นพับสำหรับบุคคลที่สนใจ การจัดบอร์ดหรือใช้ไวนิล โฟมบอร์ดแจ้งเตือนที่ รพ.สต.และในชุมชน การส่งหนังสือราชการขอความร่วมมือกำจัด แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นสาเหตุ ของโรคไข้เลือดออก
  6. จัดกิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาด ครั้งใหญ่พร้อมกันทั้งหมู่บ้าน (Big Cleanning Day) เพื่อกำจัดลูกน้ำ ยุงลาย พร้อมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลาย ปีละ 3 ครั้ง
  7. จัดทำเอกสารแจ้งเตือนเรื่องโรคไข้ เลือดออกแก่นักเรียนชั้นประถมศึกษา ทุกคนในโรงเรียน พร้อมแจกทราย อะเบทสำหรับให้นักเรียนนำกลับไป ให้ผู้ปกครอง
  8. ดำเนินการควบคุมและทำลาย แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยให้ อสม. เป็นผู้สำรวจลูกน้ำยุงลายในเขตรับผิด ชอบของตนเอง และรายงานผลการ สำรวจกลับมายัง รพ.สต.ทุกเดือน
  9. ดำเนินการพ่นหมอกควันหรือพ่น ละอองฝอยเพื่อกำจัดตัวแก่ยุงลายใน พื้นที่เป้าหมาย คือ โรงเรียน ศูนย์- พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน 2 ครั้ง/ปี
  10. ดำเนินการสอบสวนควบคุมโรค ภายใน 24 ชั่วโมง กรณีมีรายงาน ผู้ป่วยในเขตรับผิดชอบ
  11. ดำเนินการจัดเตรียมความพร้อม เรื่องวัสดุอุปกรณ์และเคมีภัณฑ์ควบ คุมโรค
  12. ดำเนินการควบคุมโรคในชุมชน กรณีเกิดโรคด้วยการพ่นหมอกควัน หรือละอองฝอย จำนวน 2 ครั้ง/ราย โดยพ่นห่างกัน 7 วัน กรณีเกิดการ ระบาดดำเนินการพ่นครอบคลุมทั้งหมู่บ้าน
  13. จัดส่งหนังสือขอความร่วมมือใน การสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายไป ยังโรงงานในเขตรับผิดชอบเพื่อให้ การดำเนินการสำรวจและรายงานผล กลับมายัง รพ.สต.เกาะใหญ่
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เครือข่ายทีมเฝ้าระวังสอบสวนโรคเคลื่อนที่เร็วระดับตำบล มีความรู้และสามารถแจ้งเหตุการณ์ความผิดปกติในพื้นที่ได้ทันเวลา
  2. จำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลง
  3. ประชาชนและนักเรียนมีความรู้ในการป้องกันตนเองจาโรคไข้เลือดออก
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2560 09:59 น.