กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการจัดศูนย์พักคอยเตียงสำหรับคนในชุมชน(Community Isolation และ Home Isolation)
รหัสโครงการ 65-L5261-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ เทศบาลตำบลท่าพระยา
วันที่อนุมัติ 10 พฤศจิกายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2564 - 30 เมษายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 พฤษภาคม 2565
งบประมาณ 223,280.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักปลัดเทศบาล โดย นางสาวสุรพร โต๊ะสมัน ตำแหน่งนักวิชาการสาธารณสุข
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลสะบ้าย้อย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 พ.ย. 2564 30 เม.ย. 2565 223,280.00
รวมงบประมาณ 223,280.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 12191 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จิตอาสา และ อสม สามารถช่วยเหลือคนในชุมชนได้
190.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรนาไวรัส หรือ โควิด-19 ระลอกที่สามตั้งแต่เดือนเมษายนที่ผ่านมาพบว่ามีแนวโน้มทวีความรุนแรงและพบการระบาดในวงกว้างมากขึ้น จำนวนมีผู้ติดเชื้อรายใหม่วันละ 10,000 รายต่อวัน ประชาชนทั่วไปได้รับการฉีดวัคซีนไม่ถึงร้อยละ 70 ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขปกติจะรับไหว โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนเตียงไม่เพียงพอสำหรับการรักษาตัวผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อโควิดสามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ อาการหนัก (สีแดง) อาการปานกลาง(สีเหลือง) และอาการไม่รุนแรง (สีเขียว) เมื่อเกิดสถานการณ์ระบาดที่รุนแรง ผู้ติดเชื้อจะถูกปฏิเสธและต้องรอคอยอยู่ที่บ้านและทำให้คนใกล้ชิดต้องติดเชื้อต่อๆและขยายเข้าสู่ชุมชนในวงกว้างมากขึ้น ดังนั้น การพัฒนาระบบโรงพยาบาลสนามเพื่อพักคอยเตียง หรือดูแลผู้ป่วยโควิดแก่คนในชุมชน(Community Isolation & Home Isolation) จึงเป็นทางออกเพื่อการรับมือสถานการณ์ระบาดของโควิด-19เป็นสถานที่สำหรับรับผู้ติดเชื้อหรือผู้ติดเชื้อที่อาการไม่หนักมากจนต้องเข้าโรงพยาบาล

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียงเพื่อคนในชุมชน Community Isolation& Home Isolation

มีการจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียงเพื่อคนในชุมชน Community Isolation& Home Isolation

70.00 20.00
2 เพื่อรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที

กลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) อาการไม่รุนแรง ได้ทันท่วงที

80.00 20.00
3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19)

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) ในพื้นที่ลดลง

70.00 10.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 223,280.00 0 0.00
1 พ.ย. 64 - 30 เม.ย. 65 ประชุมวางแผนการดำเนินงาน 0 0.00 -
1 - 30 พ.ย. 64 เตรียมความพร้อมสถานที่เพื่อรองรับผู้ป่วยกลุ่ม (สีเขียว) 0 30,000.00 -
1 พ.ย. 64 - 30 เม.ย. 65 การจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ ครุภัณฑ์เพื่อใช้ในการปฏิบัติงาน ป้องกัน รักษา และควบคุมโรค 0 25,880.00 -
1 พ.ย. 64 - 30 เม.ย. 65 ค่าอาหารสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในศูนย์พักคอย 0 167,400.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. มีการจัดตั้งศูนย์พักคอยเตียงเพื่อคนในชุมชน Community Isolation& Home Isolation
  2. ศูนย์พักคอยและการแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isolation และ Home Isolation ) มีความพร้อมสามารถรองรับกลุ่มผู้ป่วย (สีเขียว) ได้ทันท่วงที
  3. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 28 ต.ค. 2564 00:00 น.