โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทุ่งใหญ่ ประจำปี 2565
ชื่อโครงการ | โครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทุ่งใหญ่ ประจำปี 2565 |
รหัสโครงการ | 65-L8405-4-1 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | สำนักงานเลขาฯกองทุน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สำนักงานเลขานุการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2565 |
งบประมาณ | 73,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอาภรณ์ นุ้ยสุข |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.027917,100.541051place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 35 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละเงินคงเหลือสะสมของกองทุนสุขภาพตำบล(เงินคงเหลือเทียบกับรายรับปีล่าสุด) | 51.61 | ||
2 | จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่สามารถรับงบประมาณ (กลุ่ม/หน่วยงาน) | 8.00 | ||
3 | ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในปีงบประมาณ | 14.00 | ||
4 | จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ (ปีที่ผ่านมา) | 2.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ตามระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพ ได้กำหนดให้ อปท. เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการกองทุนฯ ร่วมกำหนดแนวทางการดำเนินงานโดยกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ซึ่งสามารถจัดการปัญหาด้านสุขภาพในระดับท้องถิ่นได้ ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประสุขภาพเกิดประสิทธิผล องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่ โดยสำนักงานเลขานุการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ จึงจัดทำโครงการบริหารและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ทุ่งใหญ่ ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้มีการใช้เงินกองทุนฯ ให้แก่โครงการแก่ผู้รับทุน กองทุนสุขภาพตำบลสามารถบริหารสนับสนุนเงินแก่ผู้รับทุนไม่น้อยกว่า 90 % |
51.61 | 95.00 |
2 | เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน) |
8.00 | 9.00 |
3 | เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการ ที่มีการส่งผลงานและส่งรายงาน ตรงตามเวลา ร้อยละของโครงการ ที่มีการสรุปงาน ส่งรายงาน และปิดโครงการ ภายในกำหนด เพิ่มขึ้น |
14.00 | 20.00 |
4 | เพื่อให้มีประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ จำนวนครั้งของประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุน/อนุกรรมการ ครบตามประกาศ |
2.00 | 6.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 73,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และผู้เกี่ยวข้อง จำนวน 4 ครั้ง | 0 | 40,200.00 | - | ||
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | จัดประชุม คณะอนุกรรมการ LTC จำนวน 2 ครั้ง | 0 | 9,900.00 | - | ||
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | พัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพกองทุน | 0 | 13,200.00 | - | ||
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 | ค่าวัสดุและอุปกรณ์ | 0 | 5,000.00 | - | ||
5 - 25 ม.ค. 65 | จัดทำแผนสุขภาพชุมชนและการพัฒนาการเขียนโครงการ | 0 | 4,700.00 | - |
- การบริหารจัดการกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถแก้ปัญหาที่เกี่ยวกับสุขภาพชุมชนได้อย่างทั่วถึง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 พ.ย. 2564 11:07 น.