กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่


“ โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 ”

ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4141-05-02 เลขที่ข้อตกลง 003/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำใหม่ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 65-L4141-05-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤศจิกายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 100,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานาน และในแต่ละปีจากอัตราการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ “โรคไข้เลือดออก” เป็นโรคที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค “ยุงลาย” จะมีนิสัยชอบออกหากินในเวลากลางวันและจะเพาะพันธุ์ตามแหล่งเพาะพันธ์ในธรรมชาติ และแหล่งเพาะพันธุ์ที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น โพรงไม้ โพรงหิน กระบอกไม้ไผ่ ยางรถยนต์ รางน้ำฝนที่อุดตัน ถ้วยรองน้ำยางพาราที่ไม่ใช้แล้ว ดังนั้นการกำจัดและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย จึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการป้องกันและยับยั้งการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำใหม่ได้ตระหนักถึงสภาพปัญหาของโรคไข้เลือดออกที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและถือเป็นภารกิจที่ต้องช่วยกันกระตุ้นและชักนำให้ประชาชนองค์กรชุมชนตลอดจนเครือข่ายสุขภาพให้มีส่วนร่วมอย่างจริงจังและต่อเนื่อง จึงได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำใหม่เพื่อจัดโครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกในตำบลลำใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อให้ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
  2. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย
  3. อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรู้และการจัดการขยะควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วย หลัก 5 ป
  4. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,211
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  3. สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่ อบต.ลำใหม่ ร่วมกับ รพ.สต.ลำใหม่ ออกพ่นยุงเพื่อกำจัดยุงลาย ณโรงเรียนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ จำนวน 7 โรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โรงเรียนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ จำนวน 7 โรงเรียน ได้รับการพ่นยุง

 

0 0

2. กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

วันที่ 20 กันยายน 2565 เวลา 07:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมพ่นหมอกควันเพื่อทำลายยุงซึ่งเป็นพาหนะนำโรคไข้เลือดออก ในสถานที่ราชการ โรงเรียน และชุมชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ จำนวน 21 แห่ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชุมชนและโรงเรียนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ จำนวน 21 แห่ง ได้รับการพ่นยุง ในพื้นที่ตำบลลำใหม่ไม่ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก

 

0 0

3. อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรู้และการจัดการขยะควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วย หลัก 5 ป

วันที่ 22 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมโครงการ​ป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี​​ 2565 ​ ให้กับ​สมาชิกสภา อบต. ครู อสม. ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำใหม่ จำนวน 60 คน โดยมีกิจกรรม -บรรยายให้ความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก
-สาธิตการทำลูกบอล EM
-สาธิตการพ่นหมอกควันยุงลาย
-มอบทราบอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย ให้กับ อสม. เพื่อนำไปมอบต่อให้กับประชาชนในพื้นที่ตนเอง โดยมี นายอะหมัดลุตฟี กามา นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ รพ.สต.บ้านตาสา เป็นวิทยากร ณ ห้องประชุม อบต.ลำใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้รับการอบม จำนวน 60 คน มีความรู้ความเข้าใจในการป้องกันกันโรคไข้เลือดออก โดยร่วมกันกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่บ้านของตัวเอง และช่วยประชาสัมพันธ์ไปในชุมชนของตัวเอง

 

60 0

4. กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก

วันที่ 27 กันยายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่ อบต. ผู้นำชุมชย อสม. และประชาชนในพื้นที่ จำนวน 30 คน ร่วมเดินรณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลลำใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  3. สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลาย

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ไม่มีประชาชนป่วยเป็นโรคไข้เลือดออก ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ลดการแพร่ระบาดของโรคได้อย่างทันท่วงที
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6211 6211
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,211 6,211
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดและลดความรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) เพื่อให้ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างทันท่วงที

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย (2) กิจกรรมพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย (3) อบรมให้ความรู้ เรื่อง ความรู้และการจัดการขยะควบคุมโรคไข้เลือดออกด้วย หลัก 5 ป (4) กิจกรรมรณรงค์ป้องกันการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก ประจำปี 2565 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 65-L4141-05-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสูไวบ๊ะ บือราเฮง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด