กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”

ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 60-L3332-2-15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาปะขอ อำเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 60-L3332-2-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาปะขอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันคนไทยเจ็บป่วย พิการและตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมากขึ้นและมีแนวโน้มทวีมากขึ้นทุกปี สาเหตุจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคอ้วนและเบาหวาน จากข้อมูลตรวจคัดกรองกลุ่มเป้าหมายอายุ 35 ปีขึ้นไป หมู่ที่ 6,8 และหมู่ 13 ตำบลนาปะขอ จำนวน 1,700 คน จาก รพ.สต.บ้านเกาะเคียน พ.ศ. 2558 ถึง 2560 พบว่ากลุ่มเป้าหมาย BP 120/80-139/89 mmHg. จำนวน 259 คน,198 คนและ 155 คน พบมีภาวะเสี่ยง BP มากกว่า 140 mmHg. จำนวน 47,66, และ 40 คนและพบดัชนีมวลกายเกิน ระดับอ้วน ชาย 16 หญิง 68,ชาย 21 หญิง 89 และชาย 19 หญิง 79 ตามลำดับ ปี 2560 มีผู้ป่วยในพื้นที่รับผิดชอบ โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 157 ราย โรคเบาหวาน 13 ราย และโรคเบาหวานร่วมโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 61 ราย ซึ่งโรคเหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วมที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การขาดการออกกำลังกายที่ถูกต้อง การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมมทั้งผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ การตรวจสุขภาพสม่ำเสมอทุกปี การออกกำลังกายให้เหมาะสมตามเพศตามวัย และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ถูกต้อง นับว่าเป็นวิธีที่สำคัญอย่างยิ่งในการเฝ้าระวังสุขภาพของตนเองไม่ให้เกิดโรค และลดโอกาสการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต รวมทั้งยังเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายของครอบครัว ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วย จากเหตุผลดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง เบาหวาน และโรคอ้วน เพื่อดำเนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม
  2. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยทั่วถึง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 180
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนให้ความสำคัญในการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนมากขึ้น 2.ประชาชนมีความรู้และสามมารถเป็นแบบอย่างในการสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องในการดูแลตนเอง ครอบครัวและชุมชน ในการป้องกันโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดสมองและโรคอ้วนได้


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยทั่วถึง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 180
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จำเป็นอย่างเท่าเทียม (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงและโรคอ้วนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยทั่วถึง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้มีภาวะเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 60-L3332-2-15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเกาะเคียน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด