กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด


“ โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด ”

ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางวิภาดา เต็มยอด

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด

ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-3357-01-005 เลขที่ข้อตกลง ...................../2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 20 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-3357-01-005 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 20 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 2650 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตำบลนาโหนด มีพื้นที่รับผิดชอบ 11 หมู่บ้าน มีประชากร 8,441 คน จำนวน 3,010 ครัวเรือน มีเนื้อที่ 39.88 ตารางกิโลเมตร ก่อนปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เทศบาลตำบล นาโหนด ใช้การบริหารจัดการขยะในพื้นที่ โดยการจ้างเหมาเอกชนจัดเก็บและกำจัดในบ่อกำจัดขยะของเอกชน และเนื่องจากในแต่ละปี จะมีปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้บ่อกำจัดขยะของเอกชน ไม่สามารถรองรับขยะในพื้นที่ได้ เกิดปัญหาขยะตกค้าง ในปลายปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เทศบาลตำบลนาโหนด ได้จัดซื่อรถจัดเก็บขยะ ขนาด 6 ล้อ 6 ตัน จำนวน 1 คัน เพื่อให้บริการจัดเก็บขยะในพื้นที่ทั้งตำบล โดยได้ทำบันทึกข้อตกลงกับเทศบาลเมืองพัทลุง ในการนำขยะที่จัดเก็บได้ ไปทิ้ง ณ บ่อกำจัดขยะของเทศบาลเมืองพัทลุง โดยจ่ายค่าธรรมเนียมในการทิ้ง อัตราตันละ 250 บาท ซึ่งในปีงบประมาณ 2564 มีปริมาณขยะที่จัดเก็บได้ จำนวน 715 ตัน เฉลี่ยเดือนละ 60 ตัน หรือ วันละ 2 ตัน และในปีงบประมาณ 2565 เทศบาลเมืองพัทลุง ได้ปรับอัตราการทิ้งขยะจากเดิม ตันละ 250 บาท เป็นตันละ 500 บาท ซึ่งจากการประเมินการจัดเก็บขยะในรอบปีที่ผ่านมา พบว่า ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้น สืบเนื่องมาจากประชาชนมีพฤติกรรมการจัดการขยะที่ไม่ถูกต้อง ไม่มีการคัดแยก ไม่มีกติกาทางสังคม ทำให้เทศบาลต้องสิ้นเปลืองงบประมาณในการบริหารจัดการ ทั้งในเรื่องของค่าจ้างแรงงาน ค่าบำรุงรักษาซ่อมแซมเครื่องจักร ค่าที่ทิ้งขยะ
จากหลักการและเหตุผลดังกล่าว งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัดเทศบาล เทศบาลตำบลนาโหนด จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลโหนด ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
  3. เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
  4. เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
  5. เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน
  2. กิจกรรมการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R แก่ครัวเรือนนำร่อง
  3. กิจกรรมการประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครัวเรือนในตำบลนาโหนด 3,010

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวันลดลง อย่างน้อยร้อยละ 25
จำนวนครัวเรือนที่มีพฤติกรรมคัดแยกขยะที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น อย่างน้อย ร้อยละ 20
มีครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะที่ถูกต้องตามหลัก 7R อย่างน้อย 100 ครัวเรือน
เทศบาลตำบลนาโหนด เป็นหน่วยงานที่มีนโยบายการจัดการขยะที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน

วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการตามโครงการ
จัดทำแบบสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน
จัดประชุมเพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน สมาชิกสภาฯ คณะทำงาน
ออกสำรวจข้อมูลจากครัวเรือน 11 หมู่บ้าน รวม 3,010 ครัวเรือน (ตามทะเบียนราษฎร์)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
1.แต่งตั้งคณะทำงานตามโครงการ จำนวน 18 คน
2.จัดจ้างเหมาบริการจัดทำแบบสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน จำนวน 3,010 ชุด
3.จัดประชุมคณะทำงานดำเนินการตามโครงการบริหารจุัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด ครั้งที่ 1 วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2565 ณ ห้องประชุมสำนักงานเทศบาลตำบลนาโหนด มีคณะทำงานเข้าร่วมประชุม จำนวน 15 คน จากทั้งหมด 18 คน และมีคณะผู้บริหารเทศบาล เข้าร่วมประชุม จำนวน 3 คน
ผลลัพธ์
คณะทำงานรับทราบแนวทางการดำเนินการตามโครงการ
คณะทำงานรับทราบขั้นตอน วิธีการสำรวจข้อมูลปริมาณขยะครัวเรือน
แบ่งทีมการออกสำรวจข้อมูลปริมาณขยะจากครัวเรือน โดย 1 วัน มอบหมายคณะทำงานออกสำรวจข้อมุล จำนวน 8 คน
การสำรวจข้อมูล มอบหมายเลขานุการคณะทำงาน ประสานผู้นำขุมชน อสม.ในพื้นที่ เพื่อนำสำรวจข้อมูล
กำหนดเริ่มทำการสำรวจข้อมูล ตั้งแต่วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป

 

0 0

2. กิจกรรมการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R แก่ครัวเรือนนำร่อง

วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการบริหารจัดการขยะตามหลัก 7 R การคัดแยกขยะ การสร้างมูลค่าเพิ่มของขยะแต่ละประเภท โดยให้ความรู้แก่ครัวเรือนในตำบลนาโหนด หมู่บ้านละ 40 ครัวเรือน โดยการบูรณาการการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ร่วมกับการดำเนินโครงการของเทศบาลตำบลนาโหนด และโครงการของ สสส. โดยดำเนินการในหมู่บ้านที่ 1-11 ตำบลนาโหนด ระหว่างเวลา 13.00-16.00 น.ของวัน ดังนี้
วันที่ 12 กรกฎาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 4 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 27 กรกฎาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 2 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 2 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 10 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 52 คน
วันที่ 4 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 6 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 10 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 8 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน วันที่ 17 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 11 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 51 คน
วันที่ 23 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 5 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 30 สิงหาคม 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 7 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 2 กันยายน 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 3 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 50 คน
วันที่ 5 กันยายน 2565 ดำเนินการในหมู่บ้านที่ 1 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม 53 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต
มีครัวเรือนเข้าร่วมกิจกรรม หมู่บ้านละ 40 ครัวเรือน เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ 10 คน
ผลลัพธ์
ครัวเรือน รู้จัก และเข้าใจวิธีการบริหารจัดการขยะ ตามหลัก 7R รู้จักวิธีการกำจัดขยะแต่ละประเภท มีการรณรงค์ให้มีการทำถังขยะเปียกในครัวเรือน  มีการสร้างเครือข่ายโดยครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรม นำไปถ่ายทอดให้กับครัวเรือนใกล้เคียง
การดำเนินการในกิจกรรมนี้ ไม่ได้ใช้งบประมาณจากโครงการ เนื่องจากเป็นการบูรณาการโครงการร่วมกับโครงการที่ใช้งบประมาณของเทศบาล

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 การสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน ได้ดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
(1) แต่งตั้งคณะทำงานผู้รับผิดชอบโครงการ
(2) จัดทำแบบสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน
(3) จัดประชุมชี้แจงรายละเอียดการดำเนินงานแก่คณะทำงาน จำนวน 15 คน
(4) ออกสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือนในหมู่บ้านต่าง ๆ รวม 2 หมู่บ้าน คือ หมู่บ้านที่ 4 และหมู่บ้านที่ 8
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7R แก่ครัวเรือนนำร่อง
    จัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7R แก่ครัวเรือนนำร่อง หมู่บ้าน ละ 40 ครัวเรือน รวม 11 หมู่บ้าน 440 ครัวเรือน โดยการบูรณาการร่วมกับโครงการของเทศบาลตำบลนาโหนดและโครงการซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส) ลักษณะการดำเนินการเป็นการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ วิธีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี เส้นทางเดินของขยะแต่ละประเภท ประโยชน์ของขยะแต่ละประเภท พร้อมทั้งให้ผู้เข้าร่วมอบรมได้ฝึกปฏิบัติในการคัดแยกขยะประเภทต่างๆ แนะนำวิธีการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน การทำเสวียนต้นไม้ และมอบหมายให้ครัวเรือนที่เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ เป็นครัวเรือนแม่ข่าย ในการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับไปยังครัวเรือนข้างเคียงอย่างน้อยคนละ 5 ครัวเรือน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตได้ต่อวัน (ก.ก.)
2000.00 1500.00

ไม่สามารถประเมินได้ เนื่องจากไม่ได้จัดเก็บข้อมูลครบทั้งตำบล

2 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนที่มีพฤติกรรมแยกขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
1000.00 1200.00 1,440.00

สามารถเพิ่มครัวเรือนที่คัดแยกขยะได้ 440 ครัวเรือน

3 เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะถูกต้อง(ครัวเรือน)
0.00 100.00 0.00

ยังไม่มีครัวเรือนต้นแบบ

4 เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหน่วยงาน/องค์กรที่มีนโยบายจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
0.00 1.00 1.00

เทศบาลตำบลนาโหนด

5 เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ
ตัวชี้วัด : จำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายหรือมาตรการด้านการจัดการขยะที่ถูกต้อง(แห่ง)
0.00 1.00

ยังไม่มีหมู่บ้านที่มีนโยบายในการจัดการขยะ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3010 1400
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครัวเรือนในตำบลนาโหนด 3,010 1,400

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนในการแยกขยะ (3) เพื่อเพิ่มจำนวนครัวเรือนต้นแบบในจัดการขยะ (4) เพื่อเพิ่มจำนวนหน่วยงานที่มีนโยบายจัดการขยะ (5) เพื่อเพิ่มจำนวนหมู่บ้านที่มีนโยบายจัดการขยะ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การสำรวจข้อมูลปริมาณและประเภทของขยะในครัวเรือน (2) กิจกรรมการพัฒนาทักษะการจัดการขยะตามหลัก 7 R แก่ครัวเรือนนำร่อง (3) กิจกรรมการประกวดครัวเรือนต้นแบบด้านการจัดการขยะ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด

รหัสโครงการ 65-3357-01-005 รหัสสัญญา ...................../2565 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 20 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ครัวเรือนรู้จักวิธีการคัดแยกขยะที่ถูกต้องง และรู้จักแนวทางการจัดการขยะประเภทต่าง ๆ

ผลการฝึกอบรม

ฝึกปฏิบัติ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการจัดทำถังขยะเปียกในครัวเรือน

ถังขยะเปียกในครัวเรือน

ขยายพื้นที่การทำถังขยะเปียก

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธี

การคัดแยกขยะในครัวเรือน

เพิ่มองค์ความรู้

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ครอบครัวมีความรู้เรื่องการจัดการขยะในครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

มีระบบการจัดการขยะในครัวเรือน มีการคัดแยกขยะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะและส่งขายร้านรับซื้อของเก่า เป็นการสร้างรายได้ให้ครัวเรือน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

กำหนดจุดทิ้งขยะ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

มีแกนนำจัดการขยะ และครัวเรือนเครือข่าย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

ดำเนินการต่อเนื่องในพื้นที่ที่ยังคงมีปัญหาการจัดการขยะมูลฝอยไม่ถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการขยะในชุมชนตำบลนาโหนด จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-3357-01-005

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิภาดา เต็มยอด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด