กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล


“ โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560 ”

อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางอุมาวดีมีชู ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560

ที่อยู่ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L8008-1-22 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L8008-1-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 106,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงโรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคมะเร็งเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบันและมีผู้ป่วยจำนวนมาก จากสถานการณ์ดังหล่าวมีผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไม่สมารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหรือความดันโลหิตสูงอย่างเหมาะสมทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาผู้ป่วยกลุ่มนี้เป็นผู้ป่วยเร้ือรังหากได้รับการดูแลตนเองที่ดี และการดูแลจากครอบครัว การดูแลสุขภาพที่บ้าน เพื่อส่งเสริมและรักษาความสมดุลของร่างกายลดการพึ่งพาลดการเจ็บป่วยและช่วยฟื้นฟูสภาพร่างกายทั้งนี้การบริการดังกล่าวต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริการและมีการร่วมมือและจัดการร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพและครอบครัวดังนั้นเพื่อเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในการเข้าถึงระบบบริการใกล้บ้านผู้ป่วยที่ผิดนัดขาดการรักษาและป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางศูนย์สุขภาพชุมชนศรีพิมานจึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อจะได้ดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้อย่างทั่วถึงและเพียงพอต่อจำนวนของผู้ป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเรื้อรัง ให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รวมถึงชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้รับบริการและชุมชน 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่รักษาในคลีนิก 3. เพื่อให้ผู้ป่วย ผู้ดูแลและครอบครัว มีความรู้และทักษะมรก่ีดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจในการให้บริการในคลีนิก และเพื่อพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ รพ.แม่ข่าย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดอบรม อสม. เชี่ยวชาญงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
  2. จัดกิจกรรมและอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยในคลีนิก
  3. อบรมผู้ดูแลและผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยผู้ดูแล มีความตระหนักในการจัดการและดูแลสุขภาพตนเองอสม.จิตอาสาในชุมชนมีส่วนร่วม ในการดูแลผู้ป่วยโรคเร้ือรังในชุมชนตลอดจนการดูแลต่อเน่ือง สามารถเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนสร้างความตระหนักให้แก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้ สามารถดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมและมีความรู้เกี่ยวกับโรคได้มากขึ้นทำให้สุขภาพร่างกายในการรักษาโรคมีผลที่ดีไม่เป็นภาระของลูกหลานและสังคม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรม อสม. เชี่ยวชาญงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

วันที่ 27 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการจัดอบรม อสม. เชียวชาญงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  ไม่ได้ดำเนินกิจกรรม  เนื่องจากกิจกรรมและผู้เข้าร่วมอบรมเป็นกลุ่มเดีนสกันกับกิจกรรมที่ 2

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เป็นกิจกรรมที่ซ้ำซ้อนกับกิจกรรม อบรมผู้ดูแลและผู้ป่วยโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูล ฯ  จึงไม่ได้ดำเนินกิจกรรมต่อ

 

100 0

2. จัดกิจกรรมและอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยในคลีนิก

วันที่ 17 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.  ให้ความรู้เรื่องบุหรี่ 2. ให้ความรู้เรื่อง โภชนาการสำหรับโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง/ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 3. สาธิตวิธีล้างมืออย่างถูกวิธี 4. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วยมีกิจกรรมตรวจเลือด  ตรวจตา  ตรวจเท้า  ตรวจปัสสาวะ (เช้า-บ่าย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนนิสัย  ปรับเปลี่ยนการดูแลสุขภาพได้ดีมากขึ้น

 

50 0

3. อบรมผู้ดูแลและผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า

วันที่ 31 ตุลาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. ให้ความณุ้เรื่องบุหรี่
  2. ให้ความณุ้เรื่อง โภชนาการสำหรับโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูง/ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน 3.สาธิตการล้างมืออย่างถูกวิธี
  3. คัดกรองภาวะแทรกซ้อนผู้ป่วย  ตรวจเลือด  ตรวจตา  ตรวจเท้า  ตรวจปัสสาวะ  (เช้า-บ่าย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ป่วยโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า  และผู้ดูแลหลังเข้ารับการอบรมสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

การจัดกิจกรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วน เน่ืองจากกิจกรรมที่ 3 กิจกรรมจัดอบรม อสม.เชี่ยวชาญงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่ได้ดำเนินการเนื่องจากกิจกรรมและผู้เข้าร่วมอบรมเป็นกลุ่มเดียวกันกับกิจกรรมที่ 2 ซึ่งซ้ำซ้อนกัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเรื้อรัง ให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รวมถึงชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้รับบริการและชุมชน 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่รักษาในคลีนิก 3. เพื่อให้ผู้ป่วย ผู้ดูแลและครอบครัว มีความรู้และทักษะมรก่ีดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจในการให้บริการในคลีนิก และเพื่อพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ รพ.แม่ข่าย
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาระบบบริการคลีนิกโรคเรื้อรัง ให้ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ รวมถึงชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรสาธารณสุข ผู้รับบริการและชุมชน 2. เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่รักษาในคลีนิก 3. เพื่อให้ผู้ป่วย ผู้ดูแลและครอบครัว มีความรู้และทักษะมรก่ีดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง 4. เพื่อสร้างความพึงพอใจในการให้บริการในคลีนิก และเพื่อพัฒนาระบบบริการให้เป็นมาตรฐานเดียวกับ รพ.แม่ข่าย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรม  อสม. เชี่ยวชาญงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (2) จัดกิจกรรมและอบรมเชิงปฏิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มป่วยในคลีนิก (3) อบรมผู้ดูแลและผู้ป่วยโรคเบาหวาน  ความดันโลหิตสูงที่มีความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต เท้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบบริการคลีนิกเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ปี 2560 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L8008-1-22

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุมาวดีมีชู ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด