กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮาซียะห์ เวาะฮะ

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,240.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์ประชากรที่กำลังได้รับความสนใจในสังคมโลกปัจจุบัน คือ โครงสร้างของประชากรที่กำลังมีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องเข้าสู่ “สังคมผู้สูงอายุ” (Aging Society) จากข้อมูลประชากรโลกได้แสดงให้เห็นว่าในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมาประชาการผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น โดยมีสาเหตุมาจากอัตราการตายและอัตราการเจริญพันธุ์ลดลง (United Nation 2006) เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2552) ได้เสนอความคิดว่าจากที่สำนักงาน สถิติแห่งชาติได้รายงานผลการศึกษาสถานการณ์ประชากรโลกและประชากรไทย พบว่า จำนวนประชากรโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยในปี พ.ศ. 2550 มีประชากรทั่วโลก 6,605 ล้านคน แต่ในปี พ.ศ. 2580 ประชากรโลกจะเพิ่มขึ้นเป็น 8,725.7 ล้านคน ทวีปเอเชียจะมีประชากรมากที่สุดโดยประเทศจีนและอินเดียจะมีประชากรมากเป็นอับ 1 และ 2 ของโลกตามลำดับ ปัจจุบันประเทศไทยมีสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุร้อยละ 14.7 (9.5 ล้านคน) และคาดว่าในปี พ.ศ. 2568 ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุเกินร้อยละ 20 (14.4) นั่นหมายถึง ประเทศไทยได้เป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพอันเนื่องมาจากความเสื่อมสภาพ โดยพบว่าโรคที่ทำให้ผู้สูงอายุสูญเสียสุขภาวะ 5 อันดับแรกในผู้สูงอายุชาย ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ ภาวะปอดอุดกั้นเรื้อรัง เบาหวาน และโรคมะเร็งตับ สำหรับผู้สูงอายุหญิง ได้แก่ โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ สมองเสื่อม และโรคซึมเศร้า นอกจากนี้ยังพบว่าผู้สูงอายุดูแลตนเองไม่ได้เลย 63,000 คนหรือร้อยละ 0.9 โดยพิจารณาจากความสามารถในการดูแลตนเองทำให้ทราบว่าผู้สูงอายุมีภาวะที่ต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือ (กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2557: 1)

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาเลาะ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็นหน่วยงานบริการสุขภาพปฐมภูมิมีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 3 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 4, 5และ 6 มีประชากรทั้งหมด 3,250 คน (ฐานข้อมูลประชากรกลางปี มิถุนายน 2559) มีผู้สูงอายุ จำนวน 531 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 9.98 มีผู้สูงอายุป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 101 คน คิดเป็นร้อยละ 19.0 ป่วยด้วยโรคเบาหวาน จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 6.02 ป่วยด้วยโรคหัวใจ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 1.31 และจากรายงานข้อมูลแสดงภาวะสุขภาพของกลุ่มผู้สูงอายุ ปี 2559 พบว่ามีผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 517 คน คิดเป็นร้อยละ 97.36 ผู้สูงอายุติดบ้าน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 2.25 และผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.37 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี, 2559) จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าผู้สูงอายุในตำบลปะเสยะวอ เจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานเป็นอันดับต้น ๆ ซึ่งโรคดังกล่าวนั้นล้วนมาจากกการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม เป็นการส่งเสริมให้เกิดความเจ็บป่วยของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและประสบการณ์ สามารถถ่ายทอดความรู้และคุณประโยชน์ให้แก่ครอบครัว ชุมชน สังคม และทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาติได้เป็นอย่างดี เป็นคลังสมอง คือภูมิปัญญาของแผ่นดิน หมู่ที่ 4 บ้านทุ่งเค็จ ประชากรทั้งหมด คน ในจำนวนนี้อยู่ในวัยผู้สูงอายุจำนวน 141 คน ผลการประเมินการทำกิจวัตรประจำวันขั้นพื้นฐาน (ADL) เป็นผู้สูงอายุที่ติดสังคมจำนวน 139 คน คิดเป็นร้อยละ 98.58 ผู้สูงอายุติดบ้านจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.70 ผู้สูงอายุติดเตียงจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.70 และผู้พิการ จำนวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 3.16 (โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี, 2559) วัยผู้สูงอายุมักจะเจ็บป่วยได้ง่ายเนื่องจากความเสื่อมตามสภาพร่างกาย โรคที่พบได้บ่อยได้แก่ โรคระบบกล้ามเนื้อโครงร่างและกระดูกซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุจากการประกอบอาชีพและการเจ็บป่วย จากสภาวะข้อเสื่อมในผู้สูงอายุ และสุขภาพช่องปาก ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ จะเป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถสร้างเสริมสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุให้มีสุขภาพที่ดี และที่สำคัญ คือการมุ่งลดความเจ็บป่วยในกลุ่มผู้สูงอายุ และเป็นขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุมีอายุที่ยืนยาวโดยไม่ถูกทอดทิ้งมีภาคีเครือข่ายดูแลตลอดเวลา ด้วยเหตุผลดังกล่าวชมรมอสม.บ้านทุ่งเค็จ จึงทำโครงการนี้ขึ้นมาเพื่อดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
  2. 2. เพื่อแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุโดยการเยี่ยมบ้านตามแผน
  3. 3. เพื่อให้ อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่
  4. 4. มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. คืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและเกิดภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม

    2. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจากการเยี่ยมบ้านตามแผน

    3. อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่

    4. มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพในหมู่บ้านเกิดขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม
    ตัวชี้วัด : 1. คืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและเกิดภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม

     

    2 2. เพื่อแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุโดยการเยี่ยมบ้านตามแผน
    ตัวชี้วัด : 2. ผู้สูงอายุได้รับการแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุจากการเยี่ยมบ้านตามแผน

     

    3 3. เพื่อให้ อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่
    ตัวชี้วัด : 3. อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่

     

    4 4. มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพในหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : 4. มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพในหมู่บ้านเกิดขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อคืนข้อมูลสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วม (2) 2. เพื่อแก้ปัญหาตามสภาพปัญหาและความต้องการของผู้สูงอายุโดยการเยี่ยมบ้านตามแผน (3) 3. เพื่อให้ อสม. จิตอาสามีความรู้ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน มีการส่งต่อและติดตามผู้สูงอายุพร้อมกับเจ้าหน้าที่ (4) 4. มีชมรมผู้สูงอายุคุณภาพในหมู่บ้าน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวโดยเครือข่ายสุขภาพบ้านทุ่งเค็จ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวฮาซียะห์ เวาะฮะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด