กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ตำบลทุ่งตำเสา
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-1-1
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
วันที่อนุมัติ 29 พฤศจิกายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤศจิกายน 2564 - 31 มีนาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2565
งบประมาณ 100,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.9,100.244place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่ได้มีประกาศสถาณการณืฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้สถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะ โดยเมื่อวันที่30 ตุลาคม 2564 เว็บไซด์ราชขกิจจานุเบกษา เผยแพร่ คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณืการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (โควิด19)ที่19/2564 เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุม และพื้นที่เฝ้าระวังสูง ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 จำแนกตามเขตพื้นที่จังหวัดกำหนดระดับของพื้นที่สถานการณ์เพื่อการบังคับใช้มาตรการควบคุมแบบบูรณาากรจำแนกเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม โดยจังหวัดสงขลาถูกกำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดเนื่องจากสถานการณ์ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ พื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา พบว่ามีผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อครบทั้ง10หมู่บ้าน จำนวนสะสม จำนวน 505 ราย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายหใม่ จากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผุ้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องมีกำหนดมาตราการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New nomal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จากข้อมูลการแพร่ ระบาดในปัจจุบัน ผู้ติดเชื้อโควิด19 ของตำบลทุ่งตำเสามีผู้ติดเชื้อ จำนวน 505 คน ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการรักษา จำนวน 172 คน หายดีกลับบ้านได้แล้ว 332 คน และเสียชีวิต 1 ราย และมีมาตรการกักตัวเพื่อเฝ้าระวังในสถานที่จัดตั้งขึ้น (Local Quarantine) จำนวน 15 คน กักตัวที่พักอา่ศัยของผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ประกอบกับบุคลากรเทศบาลเมืองทุ่งตำเสาในงานบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การบริการจัดเก็บขยะมูลฝอยในชุมชน พนักงานขับรถยนต์ และเจ้าหน้าที่ป้องกันและควบคุมโรคที่ปฏิัติงานในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ถือเป็นกลุ่มที่มีความสเี่ยงสูงจากการปฏิบัติงานที่มีความเสี่ยง โดยเทศบาลเมืองทุ่งตำเสาได้มีความร่วมมือกับหน่วยบริการในพื้นที่โดยมีความพร้อมในการค้นหาผู้ติดเชื้อผู้ป่วยอาการไม่รุนแรงแยกกันในศูนย์พักคอย รวมถึงประสานการส่งต่อการตรวจยืนยัน RT-PCR กรณีที่มีการตรวจคัดกรองขั้นต้นด้วยชุดตรวจ ATK ให้ผลเป็นบวก ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาและรักษาผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ซึ่งการใช้ ATK ในการคัดกรองเป็นที่ยอมรับว่าให้ผลดีและรวดเร็วโดยดำเนินตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาตร์การแพทย์ และกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดแนวทางในการตรวจและควบคุมโรคนี้ ประกอบกับได้รับการประสานจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ มีชุดตรวจทดสอบเบื้องต้น ATK สำหรับให้บริการประชาชนที่มาร้องขอรับบริการไม่เพียงพอ ในการนี้แม้รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาองค์การเภสัชกรรมร่วมกันจัดหาชุด ATK เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขนำไปให้ประชาชนในการตรวจคัดกรองตนเองและตรวจเชิงรุกเพิ่มมากยิ่งขึ้น แต่ยังอยู่ในช่วงการจัดหาและจัดระบบการกระจายซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลาอีกพอสมควร ซึ่งอาจไม่ทันต่อการระงับยับยั้งตามสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ดังนั้นเพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา ให้ทันต่อสถานการณ์ ตามบทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมและระงับโรคติดต่อ ประกอบ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 29 พ.ย. 2564 13:21 น.