กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)" ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางปาตีเมาะ จะเรสะ

ชื่อโครงการ โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)"

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L229-1-1 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)" จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)"



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)" " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L229-1-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 104,865.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งยอมาจาก “Coronavirus disease 2019”
เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเสียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวัดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมาตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยาย ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็ปไซด์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(covid-19) ที่ 11/2564 เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดพื้นที่ควบคุมสูงสุดและพื้นที่ควบคุมตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้นสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ และปริมณฑล รวมถึง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้ในพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัดเนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆ ในระบบในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่สภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วยทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้นมีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดปัตตานีอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วยอีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น ถ้าเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาดเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะ โรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็กหญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมพันธ์โดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข จึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกันตามหลัก New Nomol และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางมะรวด ได้มีความร่วมมือกับหน่วยบริการในพื้นที่โดยมีความพร้อมในการค้นหาผู้มีภาวะเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก การตรวจ ATK ขั้นต้นด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ซึ่งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาและการรักษาผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ซึ่งการใช้ ATK ในการทดลองเป็นที่ยอมรับว่าได้ผลดีและรวดเร็วโดยดำเนินการตามมาตรฐานของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นหน่วยงานหลักในการกำหนดแนวทางในการตรวจและควบคุมโรคนี้ในการนี้รัฐบาลได้อนุมัติงบประมาณให้สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาองค์การเภสัชกรรมร่วมกันจัดหาชุด ATK เพื่อให้หน่วยงานสาธารณสุขนำไปให้ประชาชนในการตรวจคัดกรองตนเองและตรวจเชิงรุกเพิ่มมากขึ้นแต่ยังอยู่ในช่วงการจัดหาและจัดระบบกระจายซึ่งคาดว่าจะใช้ระยะเวลาอีกพอสมควรซึ่งไม่ทันต่อการระงับยับยั้งตามสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ควบคุมส่งเสริมและเข้มงวด ดังนั้น เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 ให้ทันต่อสถานการณ์ตามบทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ในการป้องกันและควบคุมและระงับโรคติดต่อประกอบกับหนังสือซักซ้อมแนวทางการดำเนินการและการใช้งบประมาณในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ มท.0808.2/ว4116 ลงวันที่ 19 กรกฎาคม 2564 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบางมะรวด จึงได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 2. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ 3. เพิ่มการดูแลป้องกันคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก covid-19 เช่น ผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคไตโรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข
  2. อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข
  3. ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรค โดยรถประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 690
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการ แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น
  2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเจ้าหน้าที่ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข

วันที่ 7 มิถุนายน 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 7 มิถุนายน 2565 ได้ประชุมเจ้าหน้าที่ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 23 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการ     แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น
  2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

 

23 0

2. อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข

วันที่ 14 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 14 มิถุนายน 2565 ได้อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 23 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการ     แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น
  2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

 

23 0

3. ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรค โดยรถประชาสัมพันธ์

วันที่ 28 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

วันที่ 28 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565 ได้ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรค โดยรถประชาสัมพันธ์ จำนวน 667 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการ     แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น
  2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

 

667 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 7 มิถุนายน 2565 ได้ประชุมเจ้าหน้าที่ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 23 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)” วันที่ 14 มิถุนายน 2565 ได้อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข จำนวน 23 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)” วันที่ 28 มิถุนายน 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565 ได้ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรค โดยรถประชาสัมพันธ์ จำนวน 667 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบ้านบางมะรวด อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ตามโครงการ“คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)”

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการ   แพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น 2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่ 3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 2. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ 3. เพิ่มการดูแลป้องกันคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก covid-19 เช่น ผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคไตโรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ
ตัวชี้วัด :
1.00 100.00
  1. ประชาชนสามารถเฝ้าระวังป้องกันการควบคุมโรคโควิด-19 และสามารถป้องกันตนเองจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ไปยังผู้อื่น
  2. สามารถตรวจหาเชื้อได้ครอบคลุมในพื้นที่
  3. การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ ชัดเจน มีประสิทธิภาพ

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 690 690
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 690 690
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน 2. เพื่อให้ความรู้ คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019              (COVID-19) ให้กับประชาชนในพื้นที่ 3. เพิ่มการดูแลป้องกันคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจาก covid-19 เช่น ผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรัง      โรคเบาหวานโรคความดันโลหิตสูงโรคไตโรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่ร่วมกับเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข (2) อบรมให้ความรู้แก่เครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุข (3) ค้นหาและคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและประชาสัมพันธ์ การป้องกันโรค โดยรถประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ "คัดกรองผู้ที่มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19)" จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L229-1-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปาตีเมาะ จะเรสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด