กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง ”
ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว




ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง

ที่อยู่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 ธันวาคม 2564 ถึง 30 ธันวาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 ธันวาคม 2564 - 30 ธันวาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,888.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาไพร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสำคัญระดับประเทศ  ซึ่งยากที่จะแก้ไขและสาเหตุหนึ่งเกิดจากประชาชนไม่รู้จักวิธีการบริหารจัดการขยะ  ส่วนมากคนทั่วไปไม่รู้จักการคัดแยกขยะ  นอกจากนี้ คสช. ได้กำหนดให้ขยะเป็นวาระแห่งชาติเพื่อเป็นการสนองนโยบายและการแก้ไขปัญหาขยะ ขยะมูลฝอยเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนในหลาย ๆ ด้าน และมีลักษณะคล้ายกันเกือบทั่วประเทศทำให้เกิดมลพิษทางดินน้ำ และอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่าง ๆ และพาหนะนำโรคทำลายทัศนียภาพ อีกทั้งก่อให้เกิดเหตุรำคาญเกิดปัญหาเรื่องกลิ่นรบกวนในชุมชน ปัญหาด้านขยะมูลฝอยเกิดขึ้นกับชุมชนทุกแห่งทั้งเมืองขนาดเล็ก จนถึงเมืองใหญ่ในตัวจังหวัด อำเภอ ตำบล หรือแม้กระทั้งในชุมชน การจัดการขยะมูลฝอยซึ่งชาวบ้านส่วนใหญ่ยังใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยวิธีการแบบเดิม ๆ คือการฝังกลบและเผากลางแจ้ง ซึ่งเป็นวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี จะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะการปนเปื้อนของมลพิษต่อดิน แหล่งน้ำ ที่สำคัญกลายเป็นแหล่งเพาะพันธุ์พาหนะนำโรค ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ (กรมควบคุมมลพิษ, 2563) ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้นของประเทศไทยใน ปี พ.ศ. 2563 พบว่า ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนที่เกิดขึ้น ประมาณ 25.37 ล้านตัน ซึ่งมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลงกว่าปีที่ผ่านมา  ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า2019 (COVID-19) คณะรัฐมนตรีจึงได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั้งราชอาณาจักร (มาตรการล๊อกดาวน์) การจัดการขยะมูลฝอยในปี 2563 ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างถูกต้อง 9.13 ล้านตัน ขยะมูลฝอยอีกส่วนถูกนำกลับมาใช้ประโยชน์ 8.36 ล้านตัน ในส่วนปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนำไปกำจัดอย่างไม่ถูกต้อง 7.88 ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบปริมาณการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง ในปี 2562  จะเห็นได้ว่าในปี 2563  มีการกำจัดขยะที่ไม่ถูกต้องมากว่า 1.5 ล้านตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2563) จังหวัดตรัง มีปัญหาขยะเพิ่มมากขึ้น จากสถานการณ์ย้อนหลัง 5 ปี ระหว่างปี 2559-2563 พบว่า ปริมาณขยะในจังหวัดตรัง มีปริมาณขยะ 186,040.5 ตันต่อปีตามลำดับ ในปี พ.ศ 2563  ถึงจะมีปริมาณขยะมูลฝอยที่ลดลง แต่การกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง ประมาณ 117,165 ล้านตัน (กรมควบคุมมลพิษ, 2563)
จากการลงชุมชน ในหมู่ที่ 3 บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง พบว่า ในหมู่บ้านมีบ้านที่ผ่านแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ ร้อยละ 46.56 และบ้านที่ไม่ผ่านแบบประเมินบ้านสะอาด อนามัยดี ชีวีสมบูรณ์ ร้อยละ 53.44 ซึ่งไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และจากการร่วมกันจัดทำเวทีประชาคมหมู่บ้านของประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อค้นหาปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน พบว่า ปัญหาการคัดแยกขยะมูลฝอย เป็นปัญหาที่ชุมชนต้องการแก้ไขมากที่สุด
จากสถานการณ์และความสำคัญดังกล่าว  จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ควรจัดทำโครงการ  การจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชนมีส่วนร่วมในพื้นที่หมู่ 3 บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง  เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกและตระหนักในการร่วมมือกันในการจัดการขยะมูลฝอย สามารถคัดแยกขยะได้ถูกวิธี และลดการเผาขยะที่ไม่จำเป็น เพื่อให้เกิดการจัดการขยะมูลฝอยโดยใช้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนอย่างยั่งยืนมากที่สุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
  2. เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
  3. เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีพฤติกรรมที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
  4. เพื่อให้ครัวเรือนมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 13
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้ความเข้าใจในการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
    2. ตัวแทนครัวเรือนมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
    3. ตัวแทนครัวเรือนมีพฤติกรรมที่ดีในการจัดการขยะมูลฝอย
    4. ครัวเรือนมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีพฤติกรรมที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    4 เพื่อให้ครัวเรือนมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 83
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 13
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย (3) เพื่อให้ตัวแทนครัวเรือนมีพฤติกรรมที่ดีเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย (4) เพื่อให้ครัวเรือนมีปริมาณขยะมูลฝอยลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการจัดการขยะตามหลัก 3Rs เพื่อบ้านสะอาด ปราศจากโรคภัย หมู่ ๓ บ้านศาลาหลวงด้วง ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมบูรณ์ น้ำแก้ว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด