กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อฟื้นฟูความรู้แก่ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลพร่อน ตามหลักระบาดวิทยา
ตัวชี้วัด :

 

2 2. เพื่อเตรียมความพร้อมแก่ทีม SRRT ในการดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม และการควบคุมโรค
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อภาคีเครือข่ายชุมชนร่วมกันรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นปัญหาสาธารณสุขของประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อฟื้นฟูความรู้แก่ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ตำบลพร่อน ตามหลักระบาดวิทยา (2) 2. เพื่อเตรียมความพร้อมแก่ทีม SRRT ในการดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ ตรวจสอบสาเหตุของเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม และการควบคุมโรค (3) 3. เพื่อภาคีเครือข่ายชุมชนร่วมกันรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นปัญหาสาธารณสุขของประชาชนในพื้นที่ตำบลพร่อน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมฟื้นฟูความรู้แก่ทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว (SRRT) ระดับหมู่บ้าน ตำบล เพื่อดำเนินการเฝ้าระวังเหตุการณ์ สื่อสารกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อย่างเหมาะสม และการควบคุมโรค ตามหลักวิชาการระบาดวิทยา โดยประเมินความรู้ของผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลัง (2) เชิญชวนให้ภาคีเครือข่ายภายในชุมชน เช่น ส่วนราชการ อปท. โรงเรียน อสม. ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา โรงงานเอกชน ในพื้นที่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) จัดซื้อวัสดุเคมีภัณฑ์สำหรับกำจัดยุง และโลชั่นทากันยุง เพื่อใช้กับผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกและประชาชนข้างเคียงบ้านผู้ป่วยในการควบคุมระบาด (4) จัดทำแผนปฏิบัติงานรับการระบาดของโรค หรือโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคที่เป็นปัญหาของพื้นที่เพื่อรองรับการระบาดของโรค ก่อนเกิด ขณะเกิด และภายหลังเกิดโรค หรือเหตุการณ์ตามบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบนิเทศติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานจัดตั้งทีม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh