กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ


“ โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก ”

ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางรอฮานี มาแจ

ชื่อโครงการ โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก

ที่อยู่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L8421-02-03 เลขที่ข้อตกลง 05/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2022 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2022


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L8421-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2022 - 28 กุมภาพันธ์ 2022 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,720.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาชาติที่สำคัญคือ การพัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ตลอดจน มีความสามารถในการเรียนรู้ เพื่อให้มีศักยภาพสูงสุดอันเป็นปัจจัยหลักในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน อันดับแรกของการพัฒนาคน คือการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัย เพราะเป็นพื้นฐานของการพัฒนาด้านจิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตลอดจนคุณธรรมและจริยธรรมของเด็ก อาหารนับว่าเป็นปัจจัยที่สำคัญในการ ดำรงชีวิตของเด็ก ถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ก็จะทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ไม่มีอุปสรรคต่อ การเรียน และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้ ใหม่ ๆ อาหารเช้าจึงสำคัญการทานอาหารเช้าที่ส่งผลดีต่อทั้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต และพลังสมองของเด็กๆ เพราะการที่เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าอย่างเพียงพอและมีคุณภาพเป็นประจำ จะมีสมาธิ และ สามารถทำกิจกรรมต่างๆ ได้ดีกว่าเด็กที่ไม่กินอาหารเช้า และจะทำให้เป็นเด็กฉลาดและเก่งขึ้น เพื่อให้นักเรียน มีสุขภาพที่ดีอันจะนำไปสู่สถานศึกษามีคุณภาพ ดังนั้นอาหารมื้อเช้าจึงเป็นอาหารมื้อแรกของวันที่สมควรได้รับ แต่ด้วยปัจจุบันการใช้ชีวิตที่เร่งรีบของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน ทำให้อาหารเช้ากลับกลายเป็นอาหารมื้อที่ถูก ละเลยมากที่สุด เนื่องจากผู้ปกครองของนักเรียนบ้านโคกหมักส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างกรีดยางพารา ซึ่งต้องออกไปทำงานตั้งแต่เช้ามืดจึงไม่มีเวลาเตรียมอาหารเข้าให้กับนักเรียน มื้อเช้าของเด็กๆ คือขนม จากร้าน ในหมู่บ้าน ซึ่งไม่มีประโยชน์ และไม่เหมาะสำหรับเด็กวัยกำลังเจริญเติบโต ทำให้มีเด็กมีปัญหาเรื่องภาวะ โภชนาการที่ไม่สมวัย เนื่องจากขาดอาหารสำคัญมื้อแรก จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียนบ้านโคกหมักเห็น ความสำคัญในเรื่องของสุขภาพอนามัย ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของ เด็กในโรงเรียนบ้านโคกหมักให้สามารถมีคุณภาพที่ดี จากการสำรวจสุขภาพนักเรียนพบว่านักเรียนโรงเรียน บ้านโคกหมักมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน ๕๑ คน ซึ่งเป็นนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานทานอาหาร เช้า และได้รับประทานอาหารเช้าไม่สม่ำเสมอ ซึ่งส่งผลต่อการพัฒนาทางด้านต่าง ๆ ของนักเรียน โรงเรียนบ้าน โคกหมัก จึงจัดทำโครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง เพื่อให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านโคกหมักได้รับประทานอาหาร เช้า ที่มีสารอาหารครบทุกหมู่ เพื่อสุขภาพและร่างกายเจริญเติบโตสมวัย มีสมาธิเกิดความพร้อมในการเรียน การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยจำนวน 51 คน ได้รับประทานอาหารเช้าอย่างมีคุณภาพ
  2. นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงเพิ่มขึ้น
  3. นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยได้รับประทานอาหารเช้าที่ดีตามหลักโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขั้นเตรียมการ
  2. ขั้นดำเนินการ
  3. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 51
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนโรงเรียนบ้านโคกหมักที่มีน้ำหนักส่วนสูงน้อย ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีประโยชน์ และมีสุขนิสัยในการรับประทานอาหารอย่างถูกต้อง และมีน้ำหนัก – ส่วนสูงเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยจำนวน 51 คน ได้รับประทานอาหารเช้าอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด :
51.00 0.00

 

2 นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
51.00 0.00

 

3 นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยได้รับประทานอาหารเช้าที่ดีตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
51.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 51
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 51
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยจำนวน 51 คน ได้รับประทานอาหารเช้าอย่างมีคุณภาพ (2) นักเรียนมีน้ำหนัก-ส่วนสูงเพิ่มขึ้น (3) นักเรียนที่มีน้ำหนัก-ส่วนสูงน้อยได้รับประทานอาหารเช้าที่ดีตามหลักโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารเช้าเพื่อน้อง โรงเรียนบ้านโคกหมัก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L8421-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางรอฮานี มาแจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด