กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง ”

ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา

ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4137-1-4 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-L4137-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,070.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะทุพโภชนาการเป็นสาเหตุสำคัญของการตายในทารกและเด็ก อีกทั้งยังเป็นปัจจัยที่ขัดขวางพัฒนาการและสติปัญญาของเด็ก ส่งผลต่อการเกิดโรคเสื่อมเรื้อรังได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน และความดันโลหิตสูง ในวัยผู้ใหญ่ เด็กที่มีภาวะอ้วนและเตี้ยจะเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อปัญหาโรคเสื่อมเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ นอกจากสภาพปัญหาโรคขาดสารอาหารแล้วปัจจุบันยัง พบว่าปัญหาโภชนาการเกินหรือโรคอ้วนมีแนวโน้มสูงขึ้นซึ่งถือว่าเป็นปัญหาสุขภาพถ้าปล่อยทิ้งไว้โดยไม่เร่งดำเนินการแก้ไข เด็กเหล่านี้จะกลายเป็นผู้ใหญ่อ้วน ทำให้เกิดอัตราเสี่ยงสูงต่อโรคบางโรค และเด็กอ้วนจะเฉื่อยชาทำงานช้า ปวดข้อและกระดูกบ่อย ๆ มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุได้ง่ายและส่งผลกระทบทางจิตใจเป็นอย่างมากจากการที่ร่างกายอ้วน ทำให้ถูกล้อเลียนจากเพื่อนฝูงอาจกลายเป็นเด็กที่มีปมด้อย มีความรู้สึกว่าตนเองต่างไปจากเพื่อน ซึ่งปัญหาเหล่านี้ไม่ได้รับการแก้ไข ความรู้สึกด้านนี้จะติดตัวไปจนโตเป็นผู้ใหญ่
เด็กแรกเกิด 0 – 6 ปี เป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญต่อการพัฒนาประเทศ เด็กที่มีคุณภาพ มีการเจริญเติบโตสมวัยและพัฒนาการที่สมบูรณ์ทั้งทางร่างกายและสติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคม พ่อแม่และครอบครัว คือบุคคลที่มีบทบาทที่สำคัญยิ่งต่อการอบรมเลี้ยงดู และสร้างเสริมประสบการณ์ต่าง ๆ ให้แก่เด็กในช่วงวันนี้ การพัฒนาทางร่างกายและสมองจะเจริญเติบโต 80% ของทั้งหมด ปัจจัยที่จะกระตุ้นสมองและระบบประสาท คือ อาหารที่ให้พลังงานและช่วยสร้างเซลล์ประสาท อาหารที่ได้รับควรเป็นอาหารเสริมตามวัย และมีคุณค่าทางโภชนาการจากการดำเนินงานโภชนาการประจำปีงบประมาณ2559 พบว่าบิดามารดาและผู้ปกครองขาดความรู้ ไม่ตระหนักถึงการให้อาหารเสริมตามวัยและขาดการสังเกตพัฒนาการของลูก พบปัญหาขาดสารอาหาร น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 40 คน
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่อน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาทุพโภชนาการและการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0 – 6 ปี ได้รับ จึงได้จัดทำโครงการ “หนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ ร่างกายแข็งแรง ” ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กบิดามารดาและผู้ปกครองเด็กได้มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการให้อาหารเสริมตามวัยรวมถึงการสังเกต และส่งเสริมพัฒนาการของลูกเพื่อให้เด็กอายุ0 – 6 ปี ได้รับการดูแลและมีสุขภาพร่างกาย จิตใจ พัฒนาการที่สมบูรณ์เติบโตเป็นประชากรที่มีคุณภาพของประเทศชาติ ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็ก 0 – 6 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 80%
  2. 2. เพื่อให้เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและได้รับอาหารเสริม
  3. 3. เพื่อให้เด็ก 0 – 6 ปี ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 10%
  4. 4. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักและเกิดพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10%

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ปกครองมีความรู้ในการดูแลเด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์โดยการส่งเสริมภาวะโภชนาการจนเด็กมีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้น ๒. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและได้รับอาหารเสริม ๓. เด็ก 0 – 6 ปี ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดกิจกรรมส่งเสริมให้เด็กมีน้ำหนักตามเกณฑ์ และเสริมภาวะโภชนาการให้เพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 80%

    วันที่ 1 ธันวาคม 2560

    กิจกรรมที่ทำ

    -ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการทดสอบกินและให้ความรู้ -ผู้ปกครองสามารถกลับไปทำอาหารที่หลากหลายแก่บุตรหลาน -มอบอาหารเสริมแก่เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจนเป็นปกติคิดเป็นร้อยละ 17.5 -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยที่น้ำหนักคงเดิมจำนวน 31 คน คิดเป้นร้อยละ 77.5 -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยที่มีน้ำหนักลดลง จำนวน 2คน คิดเป็นร้อยละ 5

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    -ผู้ปกครองมีความรู้เพิ่มขึ้นจากการทดสอบกินและให้ความรู้ -ผู้ปกครองสามารถกลับไปทำอาหารที่หลากหลายแก่บุตรหลาน -มอบอาหารเสริมแก่เด็กน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นจนเป็นปกติคิดเป็นร้อยละ 17.5 -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยที่น้ำหนักคงเดิมจำนวน 31 คน คิดเป้นร้อยละ 77.5 -เด็กที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยที่มีน้ำหนักลดลง จำนวน 2คน คิดเป็นร้อยละ 5

     

    40 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็ก 0 – 6 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 80%
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อให้เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและได้รับอาหารเสริม
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อให้เด็ก 0 – 6 ปี ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 10%
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักและเกิดพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10%
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็ก 0 – 6 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการให้เพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 80% (2) 2. เพื่อให้เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ได้รับการเฝ้าระวังและได้รับอาหารเสริม (3) 3. เพื่อให้เด็ก 0 – 6 ปี ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์มีน้ำหนักเพิ่มมากขึ้นอย่างน้อย 10% (4) 4. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักและเกิดพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในการบริโภคอาหารของเด็กกลุ่มเสี่ยง เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 10%

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหนูน้อยสุขภาพดีน้ำหนักตามเกณฑ์ร่างกายแข็งแรง จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-L4137-1-4

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางหาสน๊ะ โต๊ะกูบาฮา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด