กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย ”

ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายบุญเลิศ ภูริปัญญานันท์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย

ที่อยู่ ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะเต่า อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเต่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นทรัพยากรและเป็นกำลังสำคัญในการสร้างและพัฒนาประเทศ วัยทารกเป็นจุดเริ่มต้นที่สำคัญของชีวิตมนุษย์ ถ้าทารกได้เริ่มต้นวางรากฐานที่ดีเกี่ยวกับพัฒนาการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยมีครอบครัวเป็นหลักเหมาะสมกับวัย ก็จะเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรง และเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาประเทศต่อไป ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ซึ่งปัจจุบันนโยบายของรัฐในด้านสาธารณสุขให้ความสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาสตรีและเด็ก โดยมีความมุ่งหวังให้ทุกคนในครอบครัวมีสุขภาพดี เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเหมาะสมตามวัย มีการส่งเสริมให้มารดามีการดูแลสุขภาพบุตรด้วยตนเอง โดยทั่วไปแล้วมนุษย์มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้มีผลมาจากวุฒิภาวะของสมอง อวัยวะต่างๆของร่างกาย และสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยเฉพาะการอบรมเลี้ยงดูจากครอบครัว วัยเด็กเป็นวัยที่สำคัญที่สุด เพราะเป็นวัยที่ต้องพึ่งพา และรับการช่วยเหลือจากผู้เลี้ยงดูในทุกๆด้าน และเป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตในทุกๆด้าน ดังนั้นครอบครัวจึงเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการส่งเสริมให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการอย่างสมวัย
เด็กปฐมวัยไทยมีวิกฤตทางด้านพัฒนาการ โดยมีพัฒนาการล่าช้าต่ำกว่ามาตรฐานถึง ๓o % และอาจเป็นสาเหตุหนึ่งของการศึกษาของเด็กไทยที่กำลังเป็นปัญหาใหญ่ในขณะนี้ที่ประมาณ ๑๐ - ๑๕ % ของเด็กไทยชั้น ป.๓ และ ป.๖ “อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดไม่เป็น” ทำให้ประเทศไทยสูญเสียโอกาสในการพัฒนาเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านในการเปิดประเทศรับการเป็น AEC ข้อมูลการสำรวจพัฒนาการเด็กของกรมอนามัยเมื่อปี 2557 พบเด็กแรกเกิด – ๒ ปี มีพัฒนาการไม่สมวัยร้อยละ ๒๒ ส่วนเด็กอายุ ๓ – ๕ ปีมีพัฒนาการไม่สมวัยสูงถึงร้อยละ ๓๔ หรือ ๑ ใน ๓ จำเป็นต้องเร่งค้นหาเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ให้ได้รับการส่งเสริมกระตุ้นพัฒนาการอย่างเหมาะสม ซึ่งพบว่าร้อยละ ๙๐ จะกลับมาปกติ ส่วนอีกร้อยละ ๑๐ อาจมีปัญหาอื่นๆ เช่น ออทิสติกหรือมีปัญหาด้านการเรียนรู้ ต้องรับการดูแลรักษา กระตุ้นพัฒนาการโดยผู้เชี่ยวชาญอย่างต่อเนื่อง จากการเก็บข้อมูลการประเมินพัฒนาการเด็กในเด็ก ๐ – ๕ ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากเหมือง ในปีงบประมาณ ๒๕๕๙พบว่ามีผู้ปกครองนำเด็กตรวจรับการประเมินพัฒนาการ คิดเป็นร้อยละ๕๒.๕๑ และเป็นเด็กที่มีพัฒนาการสมวัยคิดเป็นร้อยละเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๙๔เนื่องจากครอบครัวเป็นส่วนสำคัญในการเลี้ยงดู ให้ความรัก ความอบอุ่นและส่งเสริมพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของเด็กอย่างเหมาะสม เพราะการที่จะส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์แข็งแรงเหมาะสมตามวัยต้องอาศัยเวลา ไม่สามารถมองเห็นการเปลี่ยนแปลงของเด็กได้ในระยะเวลาสั้นๆ บิดามารดาผู้ปกครองจึงเป็นกลไกสำคัญที่จะช่วยให้เด็กเจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปากเหมือง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของพัฒนาการเด็กจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามวัยขึ้น เพื่อให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็ก ได้เรียนเรียนรู้การประเมินการกระตุ้นพัฒนาและเห็นความสำคัญเรื่องพัฒนาการเด็ก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี
  2. ๒.เพื่อเสริมสร้าง ความรักความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
  3. ๓.เพื่อให้ เด็ก ๐ – ๕ ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก๐-๕ ปี ๒. เด็ก ๐- ๕ ปีที่มีพัฒนากาสงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการและในรายที่ล่าช้าได้รับการรักษาที่ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 ๒.เพื่อเสริมสร้าง ความรักความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก
    ตัวชี้วัด :

     

    3 ๓.เพื่อให้ เด็ก ๐ – ๕ ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    4
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็ก ให้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี (2) ๒.เพื่อเสริมสร้าง ความรักความสัมพันธ์ระหว่างเด็ก และผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก (3) ๓.เพื่อให้ เด็ก ๐ – ๕ ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการตามวัย (4)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมพัฒนาการตามวัย จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายบุญเลิศ ภูริปัญญานันท์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด