กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน


“ โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60 ”

ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่่อน

หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะเนาะ หะยีสาและ

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60

ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่่อน จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4137-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่่อน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60 " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพร่่อน รหัสโครงการ 60-L4137-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นปีงบประมาณ 2560 ในตำบลพร่อนมีผู้สูงอายุจำนวน 543 คนประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย(Extend Family)ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว(Nucllear Family)ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตเพียงลำพัง จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย สิ่งสำคัญของชีวิตเช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแหน่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคมตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคม เป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ชมรมสูงวัยแข็งแรงบ้านตาสาและ รพ.สต.พร่อน บูรณาการร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลพร่อน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ"เพื่อนช่วยเพื่อน"ปีงบประมาณ 2560 ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพร่างกาย จิตใจ และสังคมให้แก่ผู้สูงอายุ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์การในท้องถิ่นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
  2. 2..เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
  3. 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และเปลี่ยนประสบการณ์
  4. 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมาย
  2. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในช่วงอายุ
  3. จัดกิจกรรมฝึกทักษะทางความจำและทักษะความคิดการเคลื่อนไหวและการทรงตัว
  4. ออกเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือผู้สูงอายุติดเตียง
  5. ประชุมคณะทำงาน ชมรมสูงวัยแข็งแรงบ้านตาสา คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  6. กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุ มีสุขภาพทางกาย ทางจิต และทางจิตวิญญาณที่ดีสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข 2.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชน มีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเอง 3.ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้นได้ 4.การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน ชมรมสูงวัยแข็งแรงบ้านตาสา คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงาน ชมรมผู้สูงวัยแข็งแรงบ้านตาสา คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2.เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมันติโครงการ 3.ติดต่อขายประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมาย 4.ดำเนินตามโครงการ 5.จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้สูงอายุ -ตรวจสุขภาพทั่วไป - คัดกรอง เบาหวาน ความดัน -ตรวจฟันและให้ความรู้การดูแลสุขภาพในฟันผู้สูงอายุ -จัดกิจกกิจกรรมฝึกทักษะทางความคิด การเคลื่อนไหวและการทรงตัว -กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ เทคนิคการย่อยคราบ 6.ออกเยี่ยมเยื่อยและช่วยเหลือผู้สูงอายุติดเตี่ยง ติดบ้านที่ขาดโอกาศเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ การส่งเสริมสุขภาพเพื่อหวังที่จะให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างดีอละหมาะสม สามารถที่จะดำรงไว้ต่ออย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป 7.ประเมินพอ/สรุปผลการดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชุมคณะทำงาน ชมรมผู้สูงวัยแข็งแรงบ้านตาสา คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน 2.เขียนโครงการ/เสนอโครงการ/ขออนุมันติโครงการ 3.ติดต่อขายประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมาย 4.ดำเนินตามโครงการ 5.จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในผู้สูงอายุ -ตรวจสุขภาพทั่วไป - คัดกรอง เบาหวาน ความดัน -ตรวจฟันและให้ความรู้การดูแลสุขภาพในฟันผู้สูงอายุ -จัดกิจกกิจกรรมฝึกทักษะทางความคิด การเคลื่อนไหวและการทรงตัว -กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ เทคนิคการย่อยคราบ 6.ออกเยี่ยมเยื่อยและช่วยเหลือผู้สูงอายุติดเตี่ยง ติดบ้านที่ขาดโอกาศเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ การส่งเสริมสุขภาพเพื่อหวังที่จะให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าว ได้มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างดีอละหมาะสม สามารถที่จะดำรงไว้ต่ออย่างมีคุณค่าและมีความสุขต่อไป 7.ประเมินพอ/สรุปผลการดำเนินการ

 

60 0

2. จัดกิจกรรมฝึกทักษะทางความจำและทักษะความคิดการเคลื่อนไหวและการทรงตัว

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมฝึกทักษะการเคลือนไหวและฝึกความจำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีการออกกำลังกายขยับกายเพื่อสุขภาพของตนเอง

 

60 0

3. กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

มีกิจกรรมให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย ทำให้หายจากภาวะซึมเศร้าและภาวะตึงเครียดได้

 

60 0

4. ติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

5. จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในช่วงอายุ

วันที่ 14 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. ออกเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือผู้สูงอายุติดเตียง

วันที่ 15 กันยายน 2560

กิจกรรมที่ทำ

-

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

2 2..เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น
ตัวชี้วัด :

 

3 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และเปลี่ยนประสบการณ์
ตัวชี้วัด :

 

4 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน (2) 2..เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น (3) 3.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และเปลี่ยนประสบการณ์ (4) 4.เพื่อให้การดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุมีความต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ติดต่อประสานงานผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้ที่เกี่ยวข้องและกลุ่มเป้าหมาย (2) จัดอบรมให้ความรู้การดูแลตนเองในช่วงอายุ (3) จัดกิจกรรมฝึกทักษะทางความจำและทักษะความคิดการเคลื่อนไหวและการทรงตัว (4) ออกเยี่ยมเยียนและช่วยเหลือผู้สูงอายุติดเตียง (5) ประชุมคณะทำงาน ชมรมสูงวัยแข็งแรงบ้านตาสา คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อวางแผนการดำเนินงาน (6) กิจกรรมการออกกำลังกายที่เหมาะสมในผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุเพื่อนช่วยเพื่อน ปี60 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-L4137-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจ๊ะเนาะ หะยีสาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด