โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางยามิงละห์ มะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-21 เลขที่ข้อตกลง 42/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6961-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันหลายคนให้ความสนใจและให้ความสำคัญเรื่องอาหารการกินมากขึ้น โดยหันมาบริโภคผักและผลไม้เป็นหลัก ซึ่งพืชผักส่วนใหญ่ที่มีวางจำหน่ายตามท้องตลาดมักมีสารเคมีตกค้าง เนื่องจากเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้า ทำให้ผู้บริโภคเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง และโรคความดันโลหิตสูง ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโนรา 2019(COVID-19) ที่ขยายวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เกิดภาวะว่างงาน และค่าครองชีพสูงขึ้น การปลูกผักปลอดสารเคมี จำพวกผักสวนครัวที่ให้ผลผลิตเร็ว ดูแลง่าย ใช้พื้นที่บริเวณรอบบ้านที่จำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า โดยการนำวัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนและชุมชน มาทำเป็นภาชนะใช้สำหรับปลูก นอกจากจะเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการรับประทานผักที่มีสารเคมีปนเปื้อนแล้ว ยังเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิต ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงส่งเสริมให้เกิดสตรีต้นแบบด้านการปลูกผักปลอดสารเคมี อย่างน้อยชุมชนละ 1 ครัวเรือน เพื่อขยายผลแก่สมาชิกครัวเรือนอื่นๆ ภายในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าอบรมมีความรู้ และทักษะในการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองในครัวเรือน
- ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน โดยการนำวัสดุเหลือใช้มาเป็นภาชนะสำหรับปลูกผัก
- ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคที่มีสารเคมีปนเปื้อนในผัก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รายละเอียด
กลุ่มเป้าหมาย สมาชิกกลุ่มสตรีที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 40 คน
วิธีดำเนินการ ดังนี้
1. จัดประชุมสมาชิกกลุ่มสตรีเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ
2. จัดทำแผนและเสนอโครงการ
3. ประชาสัมพันธ์โครงการเพื่อรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่วางไว้ (จำนวน 40 คน)
4. ประสานวิทยากรจากเกษตรอำเภอสุไหงโก-ลก
5. ดำเนินการตามกำหนดการโครงการ
6. สรุปผลและรายงานผล
กำหนดการอบรม ดังนี้
08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน
08.45 - 09.00 น. เปิดโครงการ
09.00 - 12.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมี ขั้นตอนการเตรียมดิน การดูแลรักษาฯ
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.00 น. อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกผักปลอดสารเคมี ขั้นตอนการเตรียมดิน การดูแลรักษาฯ (ต่อ) พร้อมสาธิตและลงมือปฏิบัติ
งบประมาณ ดังนี้
ค่าตอบแทนวิทยากร 3,600 บาท
ค่าอาหารกลางวัน 2,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2,000 บาท
ค่าวัสดุอุปกรณ์ 5,000 บาท
ค่าป้ายโครงการ 1,200 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้ความรู้
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางยามิงละห์ มะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 ”
ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางยามิงละห์ มะ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-21 เลขที่ข้อตกลง 42/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 สิงหาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6961-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 สิงหาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 40 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันหลายคนให้ความสนใจและให้ความสำคัญเรื่องอาหารการกินมากขึ้น โดยหันมาบริโภคผักและผลไม้เป็นหลัก ซึ่งพืชผักส่วนใหญ่ที่มีวางจำหน่ายตามท้องตลาดมักมีสารเคมีตกค้าง เนื่องจากเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้า ทำให้ผู้บริโภคเสี่ยงต่อการเกิดโรคต่างๆ เช่น โรคมะเร็ง และโรคความดันโลหิตสูง ประกอบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโนรา 2019(COVID-19) ที่ขยายวงกว้าง ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจทั้งทางตรงและทางอ้อม เกิดภาวะว่างงาน และค่าครองชีพสูงขึ้น การปลูกผักปลอดสารเคมี จำพวกผักสวนครัวที่ให้ผลผลิตเร็ว ดูแลง่าย ใช้พื้นที่บริเวณรอบบ้านที่จำกัดให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า โดยการนำวัสดุเหลือใช้ในครัวเรือนและชุมชน มาทำเป็นภาชนะใช้สำหรับปลูก นอกจากจะเป็นการลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคจากการรับประทานผักที่มีสารเคมีปนเปื้อนแล้ว ยังเป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิต ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 รวมถึงส่งเสริมให้เกิดสตรีต้นแบบด้านการปลูกผักปลอดสารเคมี อย่างน้อยชุมชนละ 1 ครัวเรือน เพื่อขยายผลแก่สมาชิกครัวเรือนอื่นๆ ภายในชุมชนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน
- เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าอบรมมีความรู้ และทักษะในการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคเองในครัวเรือน
- ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน โดยการนำวัสดุเหลือใช้มาเป็นภาชนะสำหรับปลูกผัก
- ลดความเสี่ยงจากการเกิดโรคที่มีสารเคมีปนเปื้อนในผัก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค |
||
วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรายละเอียด ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ความรู้
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ และทักษะด้านการเตรียมดิน และการปลูกผักปลอดสารเคมีไว้บริโภคในครัวเรือน (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถใช้พื้นที่จำกัด บริเวณรอบบ้าน และทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุดอย่างคุ้มค่า ลดปริมาณขยะในครัวเรือนและชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมสุขภาพโดยการบริโภคผักในครัวเรือน ลดภาวะเจ็บป่วยจากการบริโภคอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปลูกผักข้างบ้าน ปลอดสารเคมี สุขภาพดีลดโรค กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองสุไหงโก-ลกประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-L6961-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางยามิงละห์ มะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......