กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก


“ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565 ”

ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายสัทธรรม นราประเสริฐกุล

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L6961-2-12 เลขที่ข้อตกลง 20/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุไหงโก-ลก อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L6961-2-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสุไหงโก-ลก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 100 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในพื้นที่ อำเภอสุไหงโก-ลก มีเขตชุมชนที่ใกล้แม่น้ำสุไหงโก-ลก ตามสถิติจะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิตมากที่สุด และพบว่าเด็กที่จมน้ำเสียชีวิตเป็นเด็กที่ว่ายน้ำเป็น เด็กอายุต่ำกว่าอายุ 15 ปีซึ่งชี้ให้เห็นว่าแม้กระทั่งเด็กที่ว่ายน้ำเป็น ก็มีโอกาสจมน้ำเสียชีวิตได้เช่นเดียวกัน โดยถ้าเปรียบเทียบกับสถิติในประเทศไทยเด็กอายุ ดังกล่าวจะเสียชีวิตเฉลี่ยปีละ 1,400 คน เฉลี่ยในอำเภอสุไหงโก-ลก จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต ปีละ 2 คนขึ้นไป สาเหตุมักเกิดในช่วง น้ำไหลหลาก น้ำขัง ช่วงน้ำท่วม และช่วงฤดูร้อน แหล่งน้ำเสี่ยงไม่ได้มีเพียงในสระว่ายน้ำหรือแหล่งน้ำธรรมชาติ แต่รวมไปถึงพื้นที่ในบ้านที่หลายคนคาดไม่ถึงอย่างกะละมังที่มีน้ำ ถังน้ำเด็กเล็กที่ยังมีการทรงตัวไม่ดี ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองขึ้นมาจากถังน้ำ กะละมัง โอ่ง ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อผู้ปกครองละสายตาหรือปล่อยให้เด็กอยู่ใกล้แหล่งเสี่ยงเพียงลำพัง บางครั้งแค่คุยโทรศัพท์ ทำกับข้าว หรือเข้าห้องน้ำ ก็เป็นต้นเหตุของการจมน้ำเสียชีวิตได้ การมีความรู้ มีทักษะการเอาชีวิตรอดในน้ำและการช่วยเหลือคนตกน้ำเบื้องต้น โดยใช้อุปกรณ์ใกล้มือ เช่น เชือก ถังแกลลอนพลาสติกเปล่าที่ลอยน้ำได้ โยนครั้งละหลายๆ ชิ้น และยื่นสิ่งของยาวๆ ที่อยู่ใกล้ตัวให้คนตกน้ำจับ เช่น ท่อนไม้ เข็มขัด ผ้าขาวม้า ยื่นอุปกรณ์ไปข้างใดข้างหนึ่งแล้วจึงกวาดเข้าหาตัวคนที่อยู่ในน้ำ และดึงตัวเข้าหาฝั่งขึ้นมาจากน้ำ เป็นการสร้างความปลอดภัยทางน้ำให้แก่เด็ก ผู้ปกครองเป็นการเสริมทักษะชีวิตเรื่องการป้องกันความเสี่ยงการเกิดอุบัติทางน้ำก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงกับการเกิดอุบัติเหตุโดยเฉพาะกับเด็ก เยาวชน ในพื้นที่โดยรอบของ อำเภอสุไหงโก-ลก รวมไปถึงแหล่งพักอาศัยของชุมชน เยาวชน อยู่ใกล้แหล่งน้ำธรรมชาติ มูลนิธิเซิ่งหมู่ธารน้ำใจสุไหงโก-ลก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงจัดโครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565 เพื่อฝึกหัดให้เด็กและเยาวชน ในพื้นที่อำเภอสุไหงโก-ลก สามารถว่ายน้ำเป็น เอาชีวิตรอดจากการประสบเหตุทางน้ำและสามารถช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำได้อย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชน สามารถว่ายน้ำเอาชีวิตรอดจากเหตุทางน้ำ
  2. เพื่อสอนและฝึกให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ที่ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกสอนว่ายน้ำทุกคน จะสามารถว่ายน้ำเป็นเมื่อจบกิจกรรม
  2. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรมฝึกสอนว่ายน้ำทุกคนจะมีความรู้และทักษะเบื้องต้นในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุทางน้ำ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รายละเอียดกิจกรรม
1. จัดหาสถานที่ฝึกหัดว่ายน้ำ
2. คัดเลือกเด็กและเยาวชนเข้ารับฝึกอบรม
3. จัดทำทะเบียนรายชื่อเด็กที่เข้าร่วมฝึกอบรม
4. ดำเนินโครงการอบรม โครงการ ป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565
5. สรุปและประเมินผลการจัดกิจกรรม
กำหนดการ วันที่ 1
08.00 - 08.30 น. ลงทะเบียน รับเอกสาร การอบรมชี้แจงวัตถุประสงค์ของโครงการ
08.30 - 09.00 น. พิธีเปิดงานโครงการฯ
09.00 - 10.00 น. ทดสอบความรู้เบื้องต้นก่อนอบรม
10.00 - 12.00 น. ให้ความรู้ "เรื่อง ปัจจัยที่ทำให้เกิดจมน้ำและความปลอดภัย"
12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 16.00 น. ฝึกภาคปฏิบัติการว่ายน้ำ และการว่ายน้ำเคลื่อนไหว
วันที่ 2
09.00 - 10.00 น. บรรยาย เรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพในกรณีจมน้ำ
10.00 - 12.00 น. ฝึกภาคปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพในกรณีคนจมน้ำ
12.00 - 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
13.00 - 15.00 น. ฝึกภาคปฏิบัติการลอยตัวเปล่า การใช้อุปกรณ์ และหัดตะโกน โยน ยื่น
15.00 - 16.00 น. สรุปผลการดำเนินโครงการฯ และ มอบเกียรติบัตร ปิดโครงการ
โดย นายวิชิตชาติ อุดมลาภเจริญกิจ หัวหน้าอาสาสมัครมูลนิธิเซิ่งหมู่ธารน้ำใจ
งบประมาณ
ค่าอาหารกลางวัน  5,000 บาท
ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  5,000 บาท
ค่าวิทยากร  1,500 บาท
ค่าอุปกรณ์ในการอบรม  3,000 บาท
ค่าป้ายโครงการ  1,200 บาท
ค่าเช่าสถานที่และสระว่ายน้ำ  5,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้รับความรู้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชน สามารถว่ายน้ำเอาชีวิตรอดจากเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด : ผู้ที่เข้ารับการอบรมสามารถว่ายน้ำเอาชีวิตรอดจากเหตุทางน้ำ ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อสอนและฝึกให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ที่ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชน รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ที่ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสอนและฝึกหัดให้เด็กและเยาวชน สามารถว่ายน้ำเอาชีวิตรอดจากเหตุทางน้ำ (2) เพื่อสอนและฝึกให้เด็กและเยาวชนกลุ่มเป้าหมาย รู้จักและสามารถช่วยชีวิตผู้ที่ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันเด็กจมน้ำ ตะโกน โยน ยื่น ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L6961-2-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสัทธรรม นราประเสริฐกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด