กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง


“ โครงการบริหารจัดการกองทุน ”

ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางจริญา บุญมี

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุน

ที่อยู่ ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3365-04-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่างทอง อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3365-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 59,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลอ่างทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

แผนสุขภาพชุมชน หมายถึง แผนงานด้านสุขภาพของประชาชนโดยประชาชน เพื่อประชาชนเป็นกระบวนการที่ชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมค้นหา ร่วมเรียนรู้ ร่วมกำหนดทิศทาง ร่วมจัดกิจกรรมการพัฒนาและร่วมรับผลประโยชน์ โดยเริ่มจากการคัดเลือกแกนนำ การทบทวนงานในอดีตเพื่อกำหนดอนาคตการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สภาพปัญหา และการประเมินศักยภาพของชุมชน เพื่อใช้เป็นเครื่องมือให้เกิดการทบทวนตนเอง โดยคำนึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมในชุมชนรวมทั้งแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นตามศักยภาพของชุมชน กระตุ้นประชาชนให้เกิดความกระตือรือร้นในการพัฒนาชุมชนของตัวเอง ตลอดจนให้ความร่วมมือกับกิจกรรมด้านสุขภาพ และร่วมติดตามประเมินผล โดยสามารถขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ และเนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพส่วนใหญ่เป็นปัญหาด้านพฤติกรรมของบุคคลที่มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายด้านที่ผสมผสานกัน อันได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลที่มาจากพันธุกรรม  เจตคติ ความรู้ และความเข้าใจปัจจัยด้านครอบครัว ชุมชน สังคม วัฒนธรรม และวิถีชีวิต ซึ่งการแก้ไขจะต้องใช้กลวิธีดำเนินงานในหลายวิธีและใช้ระยะเวลาในการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วนและบุคคลที่เป็นเจ้าของสุขภาพ  ดังนั้นเพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนบรรลุวัตถุประสงค์ จึงต้องมีระบบการจัดทำข้อมูล มีการจัดทำแผนงานที่ใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาให้เกิดสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบต่อไป จากความสำคัญของการทำแผนสุขภาพชุมชน กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ เห็นชอบในหลักการให้จัดทำโครงการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนเพื่อให้ทุกภาคส่วนมีวนร่วมในการในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน ซึ่งกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทองจะนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนกิจกรรมด้านการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้มีสุขภาวะที่ดีอย่างยั่งยืน ทต.อ่างทอง จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุน เพื่อให้คณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ จัดให้เกิดการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ มีการสนับสนุนติดตามประเมินผลคุณค่าโครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกกองทุนสุขภาพตำบล การจัดทำแผนสุขภาพตำบล 4 ปี และทบทวนแผนสุขภาพรายปี แยกตามประเด็นปัญหา ดทำแผนการเงินรับ-จ่าย ประจำปี โดยนำโครงการที่ควรดำเนินการจากแผนสุขภาพมาบรรจุไว้ในแผนการเงิน รายจ่าย และจัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุน เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และสามารถติดตามการจัดกิจกรรมต่างๆๆ ของกองทุนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
  2. จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อความสะดวกในการรายงานระบบออนไลน์และจัดทำรายงานของกองทุน
  3. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  4. เพื่อออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
  5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
  6. เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
  7. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
  8. เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
  9. เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
  10. เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
  11. เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริมป้องกันรักษาฟื้นฟูเกี่ยวกับสุขภาพ
  12. เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2565

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พัฒนาศักยภาพการบริหารและจัดทำแผนสุขภาพกองทุน
  2. ประชุมเชิงปฎิบัติการ
  3. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา คณะทำงาน
  4. ประชุมอนุกรรมการและคณะทำงาน ของ LTC
  5. ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565
  6. ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน
  7. ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุน
  8. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและคณะทำงาน ครั้งที่ 4/2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กองทุนหลักประกันสุขภาพทต.อ่างทอง มีแผนพ้ฒนาสุขภาพและแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นแนวทางการบริหารกองทุนฯ 2.ปชช.ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการจัดทำแผนพัฒนาสุขภาพ 3.ปชช.ตำบลอ่างทองได้รับสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐานในการเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเสมอภาค 4.การจัดซื้อครุภัณฑ์ ทำให้กระบวนการจัดการบริหารกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน 5.แผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
6.การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา คณะทำงาน ครั้งที่ 1/2565

วันที่ 22 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา คณะทำงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง วันที่  22 ธันวาคม  2564 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลอ่างทอง


  1. เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี 2564,  การประเมินกองทุนสุขภาพตำบล ประจำปี 2564 2.    เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลอ่างทอง ครั้งที่ 2/2564
  2. เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา  รับรองรายงานการเงิน  ประจำปี 2564, โครงการที่ขอคืนเงินงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง, โครงการที่ขออนุมัติขยายเวลาในดำเนินงานโครงการ, แผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปี 2565, จัดทำแผนสุขภาพกองทุนตำบล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการได้รับทราบเกี่ยวกับการดำเนินงานของกองทุน โครงการของกองทุนสปสช. ได้รับการอนุมัติ ได้มีการจัดทำแผนสุขภาพกองทุนตำบล

 

19 0

2. ประชุมอนุกรรมการและคณะทำงาน ของ LTC

วันที่ 24 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมอนุกรรมการและคณะทำงาน ของ LTC

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชุมอนุกรรมการและคณะทำงาน ของ LTC

 

11 0

3. ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565

วันที่ 26 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

คณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อร่วมพิจารณาอนุมัติโครงการ/กิจกรรม ที่หน่วยงานหรือกลุ่มองค์กรต่างๆ เสนอขอรับการสนับสนุนประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง วันที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๕ ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลอ่างทอง


ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ แผนการเงิน รับ-จ่าย ประจำปี ๒๕๖๕ ๑.๒ ....................................................................................................... ๑.๓ .......................................................................................................
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา ๒.๑ รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง ครั้งที่ ๑/๒๕๖๕
๒.๒ ........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องติดตามการประชุม ๓.๑..................ไม่มี..................................................................... ๓.๒........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๔.๑ โครงการที่เสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณฯ ประจำปี 2565
๔.๒ พิจารณาอนุมัติโครงการ/กิจกรรม
๔.๓ ...................................................................................................... ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ๕.๑ ...................................................................................................... ๕.๒ ...................................................................................................... ๕.๓ ......................................................................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการได้รับการพิจารณา อนุมัติโดยคณะกรรมการกองทุน สปสช

 

24 0

4. ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน ครั้งที่ 3/2565

วันที่ 10 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ความประสงค์จะประชุมคณะกรรมการเพื่อพิจารณาโครงการ และติดตามโครงการที่ได้รับการพิจารณา ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง วันที่ 10 พฤษภาคม ๒๕๖5 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลอ่างทอง


ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑ สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี 2565 ไตรมาสที่ 1-2 ๑.๒ ....................................................................................................... ๑.๓ .......................................................................................................
ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา 2.๑ รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง ครั้งที่ 2/2565
2.๒ ........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องติดตามการประชุม ๓.๑..ติดตามผลการดำเนินงานโครงการที่ได้รับการอนุมัติ ๓.๒........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๔.๑ พิจารณาอนุมัติโครงการตลาดนัดสุขภาพ ๔.๒ ...................................................................................................... ๔.๓ ...................................................................................................... ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ๕.๑ ...................................................................................................... ๕.๒ ...................................................................................................... ๕.๓ ......................................................................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ติดตามการดำเนินงานของกองทุน

 

22 0

5. ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุน

วันที่ 7 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุน โดยเจ้าหน้าที่กองทุนและหน่วยงานที่ขอรับงบประมาณ จำนวน 20 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ และเข้าใจ เกี่ยวกับการเข้าใช้ระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุน และสามารถนำไปใช้ได้ ทั้งยังได้รับความรู้ในการบันทึกเสนอโครงการ การติดตามโครงการ และการรายงานผลโครงการ

 

20 0

6. ประชุมคณะกรรมการกองทุนและคณะทำงาน ครั้งที่ 4/2565

วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ เพื่อติดตาม สรุปผลการดำเนินงานของกองทุน สรุปผลการเบิกจ่ายในรอบปีงบประมาณ 2565  สร้างแผนสุขภาพ และสร้างแผนการเงิน ประจำปี 2566
ระเบียบวาระการประชุม คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง วันที่  ๒8  กันยายน  ๒๕๖5 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลตำบลอ่างทอง


ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ ๑.๑  สรุปผลการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปี 2565 ๑.๒  ....................................................................................................... ๑.๓  ....................................................................................................... ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่ผ่านมา 2.๑  รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ         เทศบาลตำบลอ่างทอง ครั้งที่ 3/2565
2.๒  ........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องติดตามการประชุม ๓.๑  ติดตามผลการดำเนินงานโครงการในรอบปีงบประมาณ 2565
๓.๒........................................................................................ ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา ๔.๑  สร้างแผนการเงิน ปี 2566 ๔.๒  สร้างแผนสุขภาพ ปี 2566 ๔.๓  ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลอ่างทอง  ปี 2566 4.4  โครงการที่ขออนุมัติขยายเวลาในดำเนินงานโครงการ 4.5  การแต่งตั้งคณะกรรมการกองทุน

ระเบียบวาระที่ ๕ เรื่องอื่นๆ ๕.๑  ส่งร่างแผนงานโครงการ ๕.๒  การแต่งตั้งอนุกรรมการของ LTC ๕.๓  ......................................................................................................

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการกองทุนฯ ได้ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานของกองทุน สรุปผลการเบิกจ่ายในรอบปีงบประมาณ 2565  สร้างแผนสุขภาพ และสร้างแผนการเงิน ประจำปี 2566

 

22 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : สนับสนุนการบริหารจัดการและปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
0.00 0.00

 

2 จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อความสะดวกในการรายงานระบบออนไลน์และจัดทำรายงานของกองทุน
ตัวชี้วัด : เพื่อความสะดวกในการรายงานระบบออนไลน์และจัดทำรายงานของกองทุน
0.00 0.00

 

3 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : พิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
4.00 4.00

 

4 เพื่อออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
ตัวชี้วัด : ออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน
1.00 1.00

 

5 เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
0.00 0.00

 

6 เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : กำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
0.00 4.00

 

7 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด : พิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ
0.00 4.00

 

8 เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
ตัวชี้วัด : ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน
0.00 1.00

 

9 เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
ตัวชี้วัด : กำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่
0.00 1.00

 

10 เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
ตัวชี้วัด : นำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง
0.00 1.00

 

11 เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริมป้องกันรักษาฟื้นฟูเกี่ยวกับสุขภาพ
ตัวชี้วัด : รับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริมป้องกันรักษาฟื้นฟูเกี่ยวกับสุขภาพ
0.00 1.00

 

12 เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2565
ตัวชี้วัด : จัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2565
0.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (2) จัดซื้อครุภัณฑ์ เพื่อความสะดวกในการรายงานระบบออนไลน์และจัดทำรายงานของกองทุน (3) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (4) เพื่อออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน (5) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด (6) เพื่อกำกับดูแลให้หน่วยงาน หรือกลุ่มหรือองค์กรผู้ที่ได้รับอนุมัติงบประมาณ ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ และตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด (7) เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ (8) เพื่อให้ทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนสุขภาพชุมชน (9) เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่ (10) เพื่อนำมาใช้เป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการสุขภาพประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง (11) เพื่อรับฟังปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่ในการส่งเสริมป้องกันรักษาฟื้นฟูเกี่ยวกับสุขภาพ (12) เพื่อจัดทำแผนสุขภาพในระดับชุมชนประจำปีงบประมาณ 2565

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพการบริหารและจัดทำแผนสุขภาพกองทุน (2) ประชุมเชิงปฎิบัติการ (3) ค่าตอบแทนคณะกรรมการกองทุน ที่ปรึกษา คณะทำงาน (4) ประชุมอนุกรรมการและคณะทำงาน ของ LTC (5) ประชุมคณะกรรมการ ที่ปรึกษา คณะทำงาน ครั้งที่ 2/2565 (6) ประชุมคณะกรรมการกองทุน/ที่ปรึกษา/อนุกรรมการ/คณะทำงาน (7) ประชุมเชิงปฏิบัติการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรมบริหารจัดการกองทุน (8) ประชุมคณะกรรมการกองทุนและคณะทำงาน ครั้งที่ 4/2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุน

รหัสโครงการ 65-L3365-04-01 ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการบริหารจัดการกองทุน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3365-04-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจริญา บุญมี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด