โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขานุการกองทุน อบต.กาวะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-50115-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้คระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลกาวะ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
- 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ
- 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์
- 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร
- ค่าเดินทางไปราชการ
- ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
30
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
- สามารถบันทึกข้อมูลและรายงานระบบออนไลน์ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
- การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านเอกสารมีความครอบคลุม สามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นระเบียบเรียบร้อย สะดวกต่อกาสรใช้งาน
- มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
2. ค่าเดินทางไปราชการ
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
-
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
3. ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
- จัดซื้อวัสดุสำนักงาน เป็นเงิน 1181 บาท
2.ถ่ายเอกสาร
- ค่าถ่ายเอกสารประชุมอนุกรรมการฯ เป็นเงิน 238 บาท
- ค่าถ่ายเอกสารประชุมคณะกรรมการ เป็นเงิน 885 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ เป็นเงิน 7500 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 625 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
5. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการฯ เป็นเงิน 18000 บาท
2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 1525 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
-
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้ปฏิบัติงานของกองทุนเป็นไปด้วยความคล่องตัว พัฒนาศักยภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวัสดุ อุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
0.00
2
2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
0.00
3
3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 จัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกข้อมูลและรายงานผ่านระบบออนไลน์
0.00
4
4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 พิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
0.00
5
5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
30
30
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (2) 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ (3) 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์ (4) 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (5) 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2) จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร (4) ค่าเดินทางไปราชการ (5) ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( สำนักงานเลขานุการกองทุน อบต.กาวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”
ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
สำนักงานเลขานุการกองทุน อบต.กาวะ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-04-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-50115-04-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาวะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ้งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 มาตรา 13 (3) มาตรา 18 (4) (8) (9) และมาตรา 47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สนับสนุน ประสาน และกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสมและความต้องการ เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชน องค์การเอกชน และภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงาน และบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ ดังนั้นการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการที่ประกอบด้วยตัวแทนภาคประชาชน บุคคลากรทางสาธารณสุขและบุคคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่ง จึงเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้คระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจ สังคมและปัญญา เพราะฉะนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพระดับพื้นที่ กองทุนระบบหลักประกันสุขภาพตำบลกาวะ จึงได้จัดทำโครงการเพื่อการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ
- 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ
- 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์
- 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
- ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร
- ค่าเดินทางไปราชการ
- ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 30 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- แผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
- กระบวนการบริหารจัดการกองทุนมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว
- สามารถบันทึกข้อมูลและรายงานระบบออนไลน์ตรงตามระยะเวลาที่กำหนด
- การบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ ด้านเอกสารมีความครอบคลุม สามารถค้นหาได้ง่ายและเป็นระเบียบเรียบร้อย สะดวกต่อกาสรใช้งาน
- มีเครื่องอำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงานที่จำเป็นและเพียงพอต่อการทำงาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
2. ค่าเดินทางไปราชการ |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ- ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
3. ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
4. จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ เป็นเงิน 7500 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 625 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
5. จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม |
||
วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ1.ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการฯ เป็นเงิน 18000 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 1525 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น-
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทำงาน ได้ปฏิบัติงานของกองทุนเป็นไปด้วยความคล่องตัว พัฒนาศักยภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีวัสดุ อุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงาน เพื่ออำนวยความสะดวกในการปฏิบัติงาน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 การบริหารจัดการกองทุนฯให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 สนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ |
0.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 จัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกข้อมูลและรายงานผ่านระบบออนไลน์ |
0.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 พิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน |
0.00 |
|
||
5 | 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | 30 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 30 | 30 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ (2) 2. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพ (3) 3. เพื่อจัดทำรายการด้านการเงินและบัญชี กิจกรรมของกองทุน ผ่านการบันทึกและรายงานผ่านระบบออนไลน์ (4) 4. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงานหรือโครงการหรือกิจกรรมให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (5) 5. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพกำหนด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (2) จัดประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (3) ค่าจัดซื้อวัสดุสำนักงาน/ถ่ายเอกสาร (4) ค่าเดินทางไปราชการ (5) ค่าจัดซื้อโปรเจคเตอร์พร้อมจอ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลกาวะ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 65-50115-04-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( สำนักงานเลขานุการกองทุน อบต.กาวะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......