กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางนุชนาถ อนันต์นาถวิรุฬ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L3312-4-01 เลขที่ข้อตกลง 1/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L3312-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 พฤศจิกายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 อาศัยอำนาจตามมาตรา 48 เตรส แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 { แก้ไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562      เพื่อดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ให้เป็นไปตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 ลงวันที่ 13 กันยายน 2561 เพื่อให้เกิดการพัฒนาสุขภาพของคนในพื้นที่ โดยการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วม เน้นการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต โดยมีคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพของตำบล เป็นผู้บริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประกอบกับปัจจุบัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้แจ้งแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถจัดระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิง(Long Term Care) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 เดียวกันนั้น ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯ เป็นไปตามอำนาจหน้าที่และเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะของเครือข่ายในการจัดทำแผนงานโครงการที่ถูกต้องและเพื่อให้คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้ปฏิบัติงานพิจารณา อนุมัติแผนงาน/โครงการ ได้ถูกต้องตามอำนาจหน้าที่ จึงมีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการกองทุนฯ ให้เป็นไปตามประกาศ ฯ ที่กำหนดไว้และให้บริการแก่ประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมและบริหารจัดการกองทุนฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
  2. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ
  3. เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดประชุมต่างๆคณะกรรมการกองทุนฯ
  2. จัดประชุมต่างๆ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ
  3. จัดประชุมต่างๆ คณะทำงานกองทุนฯ
  4. จัดประชุมต่างๆ คณะอนุกรรมการ LTC
  5. จัดทำแผนสุขภาพชุมชนและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ประจำปี 2565
  6. จัดประชุมทำแผนประจำปี 2566

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผนงาน /โครงการ/กิจกรรมที่ผ่านการอนุมัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนและถูกต้องตามประกาศฯ  ที่กำหนดไว้     2. คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการ คณะทำงาน และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน     3. การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงิน และการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด     4. ได้แผนสุขภาพตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อใช้เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและกำหนดทิศทางการดำเนินงานในการสนับสนุนงบประมาณให้แก่หน่วยบริการ ประชาชน และภาคีที่เกี่ยวข้อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมและบริหารจัดการกองทุนฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน
ตัวชี้วัด : แผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรมผ่านการอนุมัติและบริหารกองทุนฯเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน 100%
100.00

 

2 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ
ตัวชี้วัด : คณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุน 80%
80.00

 

3 เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด
ตัวชี้วัด : การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ 100 %
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 30

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมและบริหารจัดการกองทุนฯ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน (2) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุน คณะอนุกรรมการกองทุน คณะทำงานและแกนนำสุขภาพ (3) เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประกันสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมต่างๆคณะกรรมการกองทุนฯ (2) จัดประชุมต่างๆ คณะอนุกรรมการกองทุนฯ (3) จัดประชุมต่างๆ คณะทำงานกองทุนฯ (4) จัดประชุมต่างๆ คณะอนุกรรมการ LTC (5) จัดทำแผนสุขภาพชุมชนและแลกเปลี่ยน เรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ประจำปี 2565 (6) จัดประชุมทำแผนประจำปี 2566

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพและพัฒนาระบบบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลกำแพงเพชร ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L3312-4-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนุชนาถ อนันต์นาถวิรุฬ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด