กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง


“ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560 ”

ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายฮาโรนมาหมัด

ชื่อโครงการ โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-3033-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-3033-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 สิงหาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ระแว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามแผนพัฒนางานด้านสาธารณสุขมีเป้าหมายให้ประชาชนมีสุขภาพดีจากแนวคิดดังกล่าวจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาคนแบบองค์รวมหรือบูรณาการโดยกำหนดแนวทางการพัฒนาที่สำคัญ 2 ประการได้ การพัฒนาศักยภาพของคนทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปัญญารวมทั้งจิตวิญญาณและการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่เชื่อมต่อการมีคุณภาพชีวิตที่ดีงานอนามัยแม่และเด็กเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของสุขภาพและเป็นพื้นฐานของครอบครัวที่ทำให้สามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศว่า คนไทยทุกคนทั้งหญิงและชาย ทุกกลุ่มอายุจะต้องมีอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ดี ซึ่งขอบเขตของอนามัยการเจริญพันธุ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดประกอบด้วย การวางแผนครอบครัวและ การอนามัยแม่และเด็ก ภาวะการมีบุตรยาก โรคติดเชื้อระบบสืบพันธุ์และเอดส์ การอนามัยแม่และเด็กเป็นรากฐานของการพัฒนางานสาธารณสุขของประเทศและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะแม่ซึ่งเป็นผู้ให้กำเนิดการที่จะให้เด็กเกิดมามีชีวิตรอดปลอดภัยมีสุขภาพสมบูรณ์ แข็ง แรง คือสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจมีสติปัญญาที่เฉลียวฉลาด เป็นพลเมืองดีและเยาวชนที่ดีของชาติย่อมขึ้นอยู่กับแม่ที่จะต้องวางรากฐานให้เด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์จนกระทั่งคลอดและเป็นแม่ที่มีคุณภาพ ด้วยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้งมีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด6 หมู่บ้าน จากการวิเคราะห์ของผลความครอบคลุมของงานอนามัยแม่และเด็กใน 3 ปีย้อนหลังตั้งแต่ปี2557-2559พบว่า ปัญหาอนามัยแม่และเด็ก นับเป็นปัญหาที่สำคัญยิ่งของตำบลระแว้งมีผลงานต่ำกว่าเกณฑ์หลายตัวชี้วัด เช่น อัตราการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ของหญิงตั้งครรภ์ ร้อยละ36.53,42.57และ57. 64 ตามลำดับจากเกณฑ์ร้อยละ 60 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 78.56,82.25และ84.95ตามลำดับจากเกณฑ์ร้อยละ90 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีดร้อยละ 36.09, 42.55และ52.25จากเกณฑ์ร้อยละ 60และบางส่วนยังนิยมคลอดกับผดุงครรภ์โบราณร้อยละ18.25, 16.48และ 14.76 จากเกณฑ์ร้อยละ 8 ซึ่งผลงานความครอบคลุมงานอนามัยแม่และเด็กต่ำกว่าเกณฑ์อยู่มากปัจจัยเหล่านี้ล้วนทำให้มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพของงานอนามัยแม่และเด็ก จำเป็นต้องเร่งแก้ไขอย่างรีบด่วน จากปัญหาดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลระแว้งจึงได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพมารดาและทารกในครรภ์ ตลอดจนสุขภาพที่ดีทั้งมารดาและเด็กที่คลอดออกมาจึงได้จัดทำโครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะหญิงตั้งครรภ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
  2. ข้อที่ 2. เพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงมีครรภ์ เช่นการป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.กลุ่มพ่อ และแม่มีความเข้าใจในการปฎิบัติตนในระหว่างตั้งครรภ์และหลังคลอดที่ถูกต้องปลอดภัย ๒.หญิงมีครรภ์และบุตรหลังคลอดได้รับการดูแลครบตามเกณฑ์
    ๓.สร้างความเข้าใจสัมพันธภาพที่ดีและสร้างสายใยรักในครอบครัว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะหญิงตั้งครรภ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม
    ตัวชี้วัด : 1.หญิงมีครรภ์มีสุขภาวะดีมากกว่าร้อยละ 60

     

    2 ข้อที่ 2. เพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงมีครรภ์ เช่นการป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
    ตัวชี้วัด : 2.หญิงมีครรภ์มีภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กไม่เกินร้อยละ 10

     

    3 ข้อที่ 3. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : 3.หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์ร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 70
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเสริมสร้างสุขภาวะหญิงตั้งครรภ์ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม (2) ข้อที่ 2. เพื่อค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหาต่างๆของหญิงมีครรภ์ เช่นการป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 4 ครั้งตามเกณฑ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฝากครรภ์คุณภาพ มารดาทารกสุขภาพดี สานสายใยรักครอบครัว ตำบลระแว้ง ปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-3033-01-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฮาโรนมาหมัด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด