โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 ”
ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางตีฮาวอ สะอิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2560 ถึง 20 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2560 - 20 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคในช่องปากสามารถพบได้มากในคนทุกวัย เริ่มตั้งแต่เด็กแรกเกิด – 3 ปี โดยเด็กจะเริ่มมีฟันน้ำนมเมื่ออายุ 6 เดือน พบปัญหาฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือนและผุมากขึ้นตามวัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรักษาโรคฟันผุในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ เนื่องจากการสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด ทำให้เด็กรับประทานอาหารลำบากเคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุมากจะมีแนวโน้มว่า ฟันแท้จะผุมากขึ้นเช่นกันผู้ปกครองจำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญของฟันน้ำนม ต้องไม่ละเลยการทำความสะอาดช่องปากให้เด็กเพื่อให้เด็กเคยชินเมื่อเริ่มมีฟัน เพราะเมื่อฟันน้ำนมขึ้นหลายซี่พบว่าเด็กส่วนใหญ่จะไม่ให้ความร่วมมือในการแปรงฟัน สิ่งสำคัญจึงอยู่ที่ผู้ปกครองที่จะใส่ใจสุขภาพฟัน ส่วนเด็กอายุ 3 - 6 ปี เด็กกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียน แม้ว่าทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีการจัดนมจืดให้แก่เด็กแล้วก็ตาม แต่พบว่าเด็กยังดื่มนมหวานและนมเปรี้ยวรวมทั้งขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็นเมื่ออยู่บ้านสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิด – 6 ปี เกิดจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ดังนั้นผู้ปกครองจึงต้องเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน จัดอาหารว่างที่เน้นผลไม้สดแทนขนมหวานและ ลดหรือเลิกขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็น การนำเด็กไปตรวจสุขภาพปากและฟัน รวมทั้งการทาฟลูออไรด์วานิชที่ตัวฟันทุก 3 - 6 เดือน เพื่อป้องกันฟันผุในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ
จากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบะดีแย ปี 2559ที่ผ่านมา พบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูดีแย มีฟันผุจำนวน174คน คิดเป็นร้อยละ 60.42 เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบะดีแย จึงได้จัดทำโครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี
- เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ปกครองสามารถให้การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ถูกต้อง เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่มีฟันผุ ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย
ตัวชี้วัด : เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย ฟันผุไม่เกินร้อยละ 70
2
เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี
ตัวชี้วัด : เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
3
เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางตีฮาวอ สะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 ”
ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางตีฮาวอ สะอิ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2560 ถึง 20 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงลิมอ อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2560 - 20 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตันหยงลิมอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคในช่องปากสามารถพบได้มากในคนทุกวัย เริ่มตั้งแต่เด็กแรกเกิด – 3 ปี โดยเด็กจะเริ่มมีฟันน้ำนมเมื่ออายุ 6 เดือน พบปัญหาฟันผุตั้งแต่อายุ 9 เดือนและผุมากขึ้นตามวัย ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้รับการรักษาโรคฟันผุในวัยเด็กส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ เนื่องจากการสูญเสียฟันน้ำนมไปก่อนกำหนด ทำให้เด็กรับประทานอาหารลำบากเคี้ยวไม่สะดวก และเด็กที่มีฟันน้ำนมผุมากจะมีแนวโน้มว่า ฟันแท้จะผุมากขึ้นเช่นกันผู้ปกครองจำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญของฟันน้ำนม ต้องไม่ละเลยการทำความสะอาดช่องปากให้เด็กเพื่อให้เด็กเคยชินเมื่อเริ่มมีฟัน เพราะเมื่อฟันน้ำนมขึ้นหลายซี่พบว่าเด็กส่วนใหญ่จะไม่ให้ความร่วมมือในการแปรงฟัน สิ่งสำคัญจึงอยู่ที่ผู้ปกครองที่จะใส่ใจสุขภาพฟัน ส่วนเด็กอายุ 3 - 6 ปี เด็กกลุ่มนี้ส่วนใหญ่อยู่ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กหรือโรงเรียน แม้ว่าทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจะมีการจัดนมจืดให้แก่เด็กแล้วก็ตาม แต่พบว่าเด็กยังดื่มนมหวานและนมเปรี้ยวรวมทั้งขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็นเมื่ออยู่บ้านสาเหตุสำคัญของปัญหาสุขภาพช่องปากของเด็กแรกเกิด – 6 ปี เกิดจากผู้ปกครองไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก ดังนั้นผู้ปกครองจึงต้องเฝ้าระวังปัญหาสุขภาพช่องปาก โดยการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวัน จัดอาหารว่างที่เน้นผลไม้สดแทนขนมหวานและ ลดหรือเลิกขนมขบเคี้ยวที่ไม่จำเป็น การนำเด็กไปตรวจสุขภาพปากและฟัน รวมทั้งการทาฟลูออไรด์วานิชที่ตัวฟันทุก 3 - 6 เดือน เพื่อป้องกันฟันผุในเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ
จากการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบะดีแย ปี 2559ที่ผ่านมา พบว่าเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูดีแย มีฟันผุจำนวน174คน คิดเป็นร้อยละ 60.42 เพื่อเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบะดีแย จึงได้จัดทำโครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย
- เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี
- เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ปกครองสามารถให้การดูแลสุขภาพช่องปากเด็กได้ถูกต้อง เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่มีฟันผุ ส่งผลให้การเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย ตัวชี้วัด : เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย ฟันผุไม่เกินร้อยละ 70 |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี ตัวชี้วัด : เด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
|
|||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดปัญหาฟันผุในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย (2) เพื่อให้เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีสุขภาพช่องปากที่ดี (3) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านลูโบ๊ะดีแย มีความรู้และมีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็กที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการฟันดียิ้มสวย ปี 2560 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 60 - L8426 - 3 - 22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางตีฮาวอ สะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......