กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ ”

ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริกันยา ทองรักษ์

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่

ที่อยู่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L332725654001 เลขที่ข้อตกลง ........./2565.......

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหญ่ อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ L332725654001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 ตุลาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 91,229.01 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่นหรือระดับพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน ประสานงานกับองค์กรและภาคีเครือข่าย ร่วมกันค้นหาปัญหาสุขภาพและความต้องการของประชาชน ซึ่งประชาชนมีส่วนร่วมวางแผนการส่งเสริมสุขภาพและการดำเนินกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพ สามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบกับปัจจุบัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้แจ้งแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สามารถจัดระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Long Term Care) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2561 แก้ไขเพิ่มเติม  ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2562 และฉบับที่ 3 พ.ศ. 2563 ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินงานกองทุนฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามอำนาจหน้าที่คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงานและเจ้าหน้าที่ประจำกองทุนฯ ควรได้รับการพัฒนาศักยภาพในการบริหารจัดการกองทุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ สามารถปฏิบัติงาน พิจารณาอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ได้อย่างถูกต้อง จึงมีความจำเป็นที่จัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ประจำกองทุน
  2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุน การดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
  2. กิจกรรทที่ 2 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ที่จำเป็นสำรับการปฎิบัติงานกองทุนฯ
  3. กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และจัดทำแผนสุขภาพตำบล
  4. กิจกรรมที่ 4 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานกองทุน
  5. กิจกรรมที่ 5 ค่าใช้จ่ายอื่นตามความจำเป็นและเหมาะสม
  6. 1.1 ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุนฯ
  7. 1.2 ค่าตอบในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ
  8. 1.3 คณะทำงาน
  9. 1.4 ผู้เข้าร่วมประชุม
  10. 1.5 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองการประชุม
  11. 2.1 จัดซื้ิครุภัณฑ์เครื่องพิมพ์เอกสาร
  12. 2.2 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน
  13. 3.1 ป้ายโครงการ
  14. 3.2 สมนาคุณวิทยาการ
  15. 3.3 ค่าอาหารว่าง
  16. 3.4 ค่าอาหารกลางวัน
  17. 3.5 ค่าหารเย็น
  18. 3.6 ค่าวัสดุและอุปกรณ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

คณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลคลองใหญ่ ได้รับการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานกองทุนฯ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.3 คณะทำงาน

วันที่ 28 ตุลาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ปรชุมครั้งที่1/2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 คน

 

3 0

2. 1.1 ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุนฯ

วันที่ 10 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมครั้งที่ 1-2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมประชุม 12 คน

 

17 0

3. 1.5 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองการประชุม

วันที่ 10 มกราคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมครั้งที่ 1/2565

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

12 คน

 

36 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ประจำกองทุน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน การดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุน
ตัวชี้วัด : เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 50

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และเจ้าหน้าที่ประจำกองทุน (2) เพื่อส่งเสริมสนับสนุน การดำเนินงานและเพิ่มประสิทธิภาพของกองทุน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 พิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (2) กิจกรรทที่ 2 จัดซื้อวัสดุและครุภัณฑ์ที่จำเป็นสำรับการปฎิบัติงานกองทุนฯ (3) กิจกรรมที่ 3 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ อนุกรรมการ คณะทำงาน และจัดทำแผนสุขภาพตำบล (4) กิจกรรมที่ 4 การเพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานกองทุน (5) กิจกรรมที่ 5 ค่าใช้จ่ายอื่นตามความจำเป็นและเหมาะสม (6) 1.1 ค่าตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการกองทุนและที่ปรึกษากองทุนฯ (7) 1.2 ค่าตอบในการประชุมคณะอนุกรรมการฯ (8) 1.3 คณะทำงาน (9) 1.4 ผู้เข้าร่วมประชุม (10) 1.5 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มรับรองการประชุม (11) 2.1 จัดซื้ิครุภัณฑ์เครื่องพิมพ์เอกสาร (12) 2.2 จัดซื้อวัสดุสำนักงาน (13) 3.1 ป้ายโครงการ (14) 3.2 สมนาคุณวิทยาการ (15) 3.3 ค่าอาหารว่าง (16) 3.4 ค่าอาหารกลางวัน (17) 3.5 ค่าหารเย็น (18) 3.6 ค่าวัสดุและอุปกรณ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองใหญ่ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ L332725654001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริกันยา ทองรักษ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด