โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเปรียญ ชูทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3323-2-06 เลขที่ข้อตกลง 7/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3323-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีการแพร่ระบาดภายในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงการแพร่ระบาดในจังหวัดพัทลุงก็ยังคงมีผู้ป่วยติดเชื้อและเสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีจำนวนผู้ติดเชื้อถึงปัจจุบัน จำนวน 12,490 ราย เสียชีวิต 100 ราย (ข้อมูล สนง.ประชาสัมพันธ์จังหวัดพัทลุง ณ วันที่ 24 พ.ย. 2564) และจังหวัดพัทลุงได้มีมาตรการการควบคุมหลายมาตรการตาม พรก.ฉุกเฉิน เช่น มาตรการเคอร์ฟิว ห้ามการประชุม ชุมนุม สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) การรณรงค์ขอให้ตระหนัก แต่อย่าตระหนก ให้ยึดหลัก D-M-H-T-T-A อย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสังเกตอาการตนเองหากมีไข้และมีอาการระบบทางเดินหายใจให้รีบไปพบแพทย์โดยด่วน นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 34) ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2564 โดยกำหนดเงื่อนไขหลักเกณฑ์ของมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School รองรับการเปิดภาคเรียนที่ 2/2564 โดยจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาแบบ On-Site จำแนกตามเขตพื้นที่การระบาดซึ่งสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site ต้องมีการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อเป็นระยะๆ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม และให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดกำหนดได้ตามความเหมาะสมของการระบาดในพื้นที่แยกระดับอำเภอของแต่ละจังหวัด ซึ่งในการนี้ที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 23/2564 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2564 มีมติให้สุ่มตรวจติดตามหาเชื้อนักเรียน นักศึกษา ร้อยละ 5-10 ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ของจำนวนนักเรียนแต่ละสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site โดยใช้ชุดตรวจ ATK แบบ Home use ซึ่งในการดำเนินการระยะแรก สำนักงานสาธารณสุขจะบริการชุดตรวจ ATK และเข้าไปชี้แจงทำความเข้าใจ สาธิตการใช้ชุดตรวจ ATK ให้แก่สถานศึกษาเพื่อสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ได้ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจแก่นักเรียนและผู้ปกครอง แต่ก็พบนักเรียนและผู้ปกครองติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลพนางตุง-ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุงมีการปลดล็อคในหลาย ๆ กิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้ดำเนินการใช้ชีวิตตามปกติ ในเรื่องของการประกอบอาชีพ การดูแลสุขภาพในการออกกำลังกาย ประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ เช่น งานบวช งานมงคลสมรส งานศพฯลฯ ซึ่งในแต่ละกิจกรรมมีความจำเป็นต้องพบปะ พูดคุย ประชุม หรือทำกิจกรรมร่วมกัน และหลังวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้พฤติกรรมของประชาชนบางอย่างเปลี่ยนไป จนกลายเป็นความปกติใหม่ หรือฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ในทุกสถานการณ์ แต่แล้วสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ก็ได้หวนกลับมาระบาดอีกครั้งต่อเนื่องมาตลอดจนถึงปัจจุบัน
โรงเรียนพนางตุง เคยได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และได้ใช้วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างคุ้มค่าจนเกิดความปลอดภัย ปลอดโรคแก่ครู/บุคลากรและนักเรียน ในช่วงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาของปีงบประมาณ 2563
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ถึงอย่างไรก็ตามทางโรงเรียน พนางตุง จำเป็นต้องปลูกฝัง สร้างพฤติกรรม ควบคุมและป้องกันตามมาตรการที่สำคัญแก่นักเรียน คือการป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือมีมลภาวะ ไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจามและที่สำคัญหากต้องดำเนินกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นจะต้องดำเนินการตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและกฎระเบียบของหมู่บ้านโดยจะต้องได้รับการคัดกรองก่อนเข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน สถานศึกษา สถานที่ชุมชน สถานที่ประชุม สถานที่ออกกำลังกาย หรืองานประเพณีต่าง ๆ ตามมาตรการควบคุมหลัก คือ การให้มีจุดบริการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรคอย่างเหมาะสมทั่วถึง การสวมหน้ากากอนามัย การให้เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะและระหว่างที่นั่ง รวมถึงระยะห่างระหว่างการเดินอย่างน้อย 1 เมตร การทำความสะอาดในบริเวณสถานที่สำหรับให้บริการนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป การให้ควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด และกอปรที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 23/2564 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2564 มีมติให้สุ่มตรวจติดตามหาเชื้อนักเรียน ร้อยละ 5-10 ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ของจำนวนนักเรียนแต่ละสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site โดยใช้ชุดตรวจ ATK แบบ Home use ดังนั้น โรงเรียนพนางตุง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนพนางตุงทุกคน มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- นักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนพนางตุง ได้รับการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา
2 สัปดาห์ต่อครั้ง
- โรงเรียนพนางตุง สามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : มีจุดคัดกรองและการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียน
0.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
0.00
3
ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
ตัวชี้วัด : โรงเรียนเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3323-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายเปรียญ ชูทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ”
ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายเปรียญ ชูทอง
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3323-2-06 เลขที่ข้อตกลง 7/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนางตุง อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3323-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 53,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงมีการแพร่ระบาดภายในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก รวมถึงการแพร่ระบาดในจังหวัดพัทลุงก็ยังคงมีผู้ป่วยติดเชื้อและเสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยมีจำนวนผู้ติดเชื้อถึงปัจจุบัน จำนวน 12,490 ราย เสียชีวิต 100 ราย (ข้อมูล สนง.ประชาสัมพันธ์จังหวัดพัทลุง ณ วันที่ 24 พ.ย. 2564) และจังหวัดพัทลุงได้มีมาตรการการควบคุมหลายมาตรการตาม พรก.ฉุกเฉิน เช่น มาตรการเคอร์ฟิว ห้ามการประชุม ชุมนุม สวมใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) การรณรงค์ขอให้ตระหนัก แต่อย่าตระหนก ให้ยึดหลัก D-M-H-T-T-A อย่างเคร่งครัดเพื่อป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และสังเกตอาการตนเองหากมีไข้และมีอาการระบบทางเดินหายใจให้รีบไปพบแพทย์โดยด่วน นอกจากนี้ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีประกาศ เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 34) ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2564 โดยกำหนดเงื่อนไขหลักเกณฑ์ของมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School รองรับการเปิดภาคเรียนที่ 2/2564 โดยจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษาแบบ On-Site จำแนกตามเขตพื้นที่การระบาดซึ่งสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site ต้องมีการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อเป็นระยะๆ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม และให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดกำหนดได้ตามความเหมาะสมของการระบาดในพื้นที่แยกระดับอำเภอของแต่ละจังหวัด ซึ่งในการนี้ที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 23/2564 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2564 มีมติให้สุ่มตรวจติดตามหาเชื้อนักเรียน นักศึกษา ร้อยละ 5-10 ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ของจำนวนนักเรียนแต่ละสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site โดยใช้ชุดตรวจ ATK แบบ Home use ซึ่งในการดำเนินการระยะแรก สำนักงานสาธารณสุขจะบริการชุดตรวจ ATK และเข้าไปชี้แจงทำความเข้าใจ สาธิตการใช้ชุดตรวจ ATK ให้แก่สถานศึกษาเพื่อสุ่มตรวจคัดกรองหาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ได้ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด ประชาสัมพันธ์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจแก่นักเรียนและผู้ปกครอง แต่ก็พบนักเรียนและผู้ปกครองติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่ตำบลพนางตุง-ทะเลน้อย จังหวัดพัทลุงมีการปลดล็อคในหลาย ๆ กิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้ดำเนินการใช้ชีวิตตามปกติ ในเรื่องของการประกอบอาชีพ การดูแลสุขภาพในการออกกำลังกาย ประเพณีวัฒนธรรมต่าง ๆ เช่น งานบวช งานมงคลสมรส งานศพฯลฯ ซึ่งในแต่ละกิจกรรมมีความจำเป็นต้องพบปะ พูดคุย ประชุม หรือทำกิจกรรมร่วมกัน และหลังวิกฤตการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้พฤติกรรมของประชาชนบางอย่างเปลี่ยนไป จนกลายเป็นความปกติใหม่ หรือฐานวิถีชีวิตใหม่ (New Normal) ในทุกสถานการณ์ แต่แล้วสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ก็ได้หวนกลับมาระบาดอีกครั้งต่อเนื่องมาตลอดจนถึงปัจจุบัน โรงเรียนพนางตุง เคยได้รับงบสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพนางตุง เพื่อเป็นการป้องกันการแพร่ระบาดและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และได้ใช้วัสดุและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างคุ้มค่าจนเกิดความปลอดภัย ปลอดโรคแก่ครู/บุคลากรและนักเรียน ในช่วงตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาของปีงบประมาณ 2563 การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ยังคงเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ถึงอย่างไรก็ตามทางโรงเรียน พนางตุง จำเป็นต้องปลูกฝัง สร้างพฤติกรรม ควบคุมและป้องกันตามมาตรการที่สำคัญแก่นักเรียน คือการป้องกันตนเองไม่ให้สัมผัสกับโรค โดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัดหรือมีมลภาวะ ไม่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วยไอหรือจามและที่สำคัญหากต้องดำเนินกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นจะต้องดำเนินการตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขและกฎระเบียบของหมู่บ้านโดยจะต้องได้รับการคัดกรองก่อนเข้าร่วมกิจกรรมของหมู่บ้าน สถานศึกษา สถานที่ชุมชน สถานที่ประชุม สถานที่ออกกำลังกาย หรืองานประเพณีต่าง ๆ ตามมาตรการควบคุมหลัก คือ การให้มีจุดบริการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรคอย่างเหมาะสมทั่วถึง การสวมหน้ากากอนามัย การให้เว้นระยะห่างระหว่างโต๊ะและระหว่างที่นั่ง รวมถึงระยะห่างระหว่างการเดินอย่างน้อย 1 เมตร การทำความสะอาดในบริเวณสถานที่สำหรับให้บริการนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไป การให้ควบคุมจำนวนผู้ใช้บริการมิให้แออัด และกอปรที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดพัทลุง ครั้งที่ 23/2564 เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2564 มีมติให้สุ่มตรวจติดตามหาเชื้อนักเรียน ร้อยละ 5-10 ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง ของจำนวนนักเรียนแต่ละสถานศึกษาที่เปิดเรียนแบบ On-Site โดยใช้ชุดตรวจ ATK แบบ Home use ดังนั้น โรงเรียนพนางตุง จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง ขึ้นมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนพนางตุงทุกคน มีความปลอดภัยจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- นักเรียน ครูและบุคลากรโรงเรียนพนางตุง ได้รับการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา
2 สัปดาห์ต่อครั้ง - โรงเรียนพนางตุง สามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : มีจุดคัดกรองและการปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังและป้องกันโรคการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรียน |
0.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตัวชี้วัด : นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง |
0.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้ ตัวชี้วัด : โรงเรียนเปิดเรียนแบบ On-Site ได้ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุน สร้างความตระหนักให้นักเรียนในการเฝ้าระวังและป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียน ครูและบุคลากร ได้รับการสุ่มตรวจติดตาม หาเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้โรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-Site ได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสุ่มตรวจติดตามหาเชื้อร้อยละ 5-10 ของจำนวนนักเรียน และบุคลากร ระยะเวลา 2 สัปดาห์ต่อครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรอง สุ่มตรวจ และเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนพนางตุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3323-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายเปรียญ ชูทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......