กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”

ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกสะบ้า

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1473-65-02-001 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกสะบ้า อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1473-65-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกสะบ้า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในการพัฒนาสาธารณสุข เพื่อให้บรรลุเป้าหมายสุขภาพดีถ้วนหน้าของประชาชนได้นั้น จำเป็นต้องพัฒนา กลวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพของตนเองตั้งแต่เริ่มต้น  และปรับปรุงระบบบริการของรัฐให้สามารถรองรับและเชื่อมต่อกับระบบการสาธารณสุขมูลฐานของชุมชนได้  นอกจากนั้นยังต้องอาศัยการพัฒนาด้านเทคโนโลยีทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เหมาะสมกับท้องถิ่น  เพื่อให้ประชาชนสามารถค้นหาปัญหาวางแผนแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะก่อให้เกิดเป็นการพัฒนาที่ยั่งยืนและต่อเนื่องได้ในที่สุด สำหรับปัญหาโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง  เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและทวีความรุนแรงมากขึ้น  ในเขตรับผิดชอบของตำบลโคกสะบ้ามีผู้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน  และป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปี
จากสถานการณ์โรคอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ของสถานีอนามัยตำบลโคกสะบ้า ในช่วงปี พ.ศ. 2562 – 2564 มีแนวโน้มสูงทุกปี คือ ปี พ.ศ. 2562 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 4,201.33 ต่อแสนประชากรและอัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูง 9,982.12 ต่อแสนประชากร,ปี พ.ศ. 2563 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 4,319.22 ต่อแสนประชากรและอัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูง 10,979.12 ต่อแสนประชากรปี พ.ศ. 2564 อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน 4,022.02 ต่อแสนประชากรและอัตราป่วยด้วยความดันโลหิตสูง 8,920.12 ต่อแสนประชากร และตามเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์จังหวัดตรัง  ได้กำหนดให้ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป  ได้รับการค้นหาโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง  เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ  90 ทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกสะบ้า จึงมีแนวคิดว่าการดำเนินการในการค้นหาผู้ป่วยให้ได้ครอบคลุม จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตำบลโคกสะบ้า  อำเภอนาโยง  จังหวัดตรังขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. ประชาชนอายุมากกว่า 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดัน ร้อยละ 90
  3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสาธารณสุข โดยเน้นการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
  4. ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมและเมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและต่อเนื่อง 2.ประชาชนมีความศรัทธาในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข และให้ความร่วมมือในการพัฒนางานสาธารณสุขมากขึ้น
3.อัตราป่วยจากโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 5 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ชี้แจงผู้ที่เกี่ยวข้องให้ทราบ(อสมทั้งหมด) -จัดทำแบบสำรวจ แบบรายงาน และเตรียมอุปกรณ์ในการตรวจหาน้ำตาลในเลือดและเครื่องวัดความดันโลหิต -อสม.ออกคัดกรองกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มประชาชน 35 ปีขึ้นไป เพื่อค้นหาผู้ป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
-จัดทำทะเบียนผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง -ให้ความรู้ในการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โดยใช้บริการปรึกษา
-อสม.และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกเยี่ยมติดตามผู้ป่วยเดือนละ 1 ครั้ง -รายงานผลการดำเนินงานตามระบบรายงานประจำเดือน -สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสมและเมื่อเจ็บป่วยได้รับการดูแลรักษาที่มีคุณภาพและต่อเนื่อง -มีความศรัทธาในการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุข  และให้ความร่วมมือในการพัฒนางานสาธารณสุขมากขึ้น
-อัตราป่วยจากโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวานลดลง

 

126 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลดลง
80.00

 

2 ประชาชนอายุมากกว่า 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดัน ร้อยละ 90
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

3 ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสาธารณสุข โดยเน้นการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

4 ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 บรรลุตามวัตถุประสงค์
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3280
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,280
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) ประชาชนอายุมากกว่า 35 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดัน ร้อยละ 90 (3) ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินงานสาธารณสุข  โดยเน้นการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (4) ลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1473-65-02-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลโคกสะบ้า )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด