กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส


“ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนุรุลฮูดา ราเซะ

ชื่อโครงการ โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2535-01-2 เลขที่ข้อตกลง 1/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2565 ถึง 24 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปาเสมัส อำเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2535-01-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2565 - 24 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปาเสมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เพศชายเมื่อเข้าสู่ช่วงวัยรุ่น หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายควรที่จะสามารถรูดจนเผยให้เห็นถึงบริเวณ หัวของอวัยวะส่วนสำคัญได้ทั้งหมด และสามารถรูดกลับได้โดยที่ไม่เจ็บหรือเกิดความยากลำบากเพื่อสุขอนามัยที่ดีในการดูแลอวัยวะส่วนสำคัญนี้ เนื่องจากหากไม่สามารถรูดเปิดออกมาได้หมดก็จะทำให้ไม่สามารถล้างสิ่งสกปรก ที่หมักหมมอยู่ภายใต้หนัง อันประกอบด้วยเหงื่อ คราบปัสสาวะ ขี้ไคล ทำให้เกิดคราบขาวๆ ที่เราเรียกว่า ขี้เปียก เกิดขึ้นได้ และปัจจุบันได้มีการวิจัยไว้ว่า การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายมีผลดีต่อทางการแพทย์ สามารถลดการเกิดโรคได้ เช่น ลดโอกาสที่จะติดโรคทางเดินปัสสาวะมากกว่าเด็กที่ไม่ได้ขลิบหนังหุ้มอวัยวะเพศ นอกจากนี้แล้ว และการติดเชื้อแบคทีเรียจากสิ่งสกปรกที่หมักหมุมอยู่ภายใต้หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย การศึกษายังแสดงให้เห็นว่าคนที่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศมีอัตราเสี่ยงต่อการติดโรคทางเพศน้อยมาก ส่วนผู้ชายที่ไม่ตัดหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศนั้นจะมีโอกาสติดเชื้อมากกว่าเพราะในระหว่างการมีความสัมพันธ์ทางเพศนั้น หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศสามารถถลอกออกหรือเป็นแผลเล็กๆ ที่ทำให้เชื้อไวรัสเข้าไปในบาดแผลนั้นได้ ซึ่งหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศอาจจะปล่อยให้ไวรัสและเชื้อโรคอื่นๆ สามารถอยู่รอดได้ยาวนานกว่า ที่อยู่ข้างนอกและมีเวลามากกว่าที่จะเข้าไปในร่างกาย ดังนั้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชน ได้เห็นความสำคัญของการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายและเข้าถึงบริการสาธารณสุข ด้านการสุขภาพและการป้องกันโรค เทศบาลตำบลปาเสมัส จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปี งบประมาณ 2565” เพื่อสนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคในกลุ่มเด็กและเยาวชนในตำบลปาเสมัสขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
  2. เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
  4. เพื่อผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศ เป็นการรักษาความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ
  5. เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาหนังหุ้มปลาย เช่น รูดได้ไม่สุด รูดแล้วติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปี งบประมาณ 2565

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ 2 สามารถรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3 เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
4 ได้รับผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศเป็นการรักษาความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ 5 สามารถป้องกันการเกิดปัญหาหนังหุ้มปลาย เช่น รูดได้ไม่สุด รูดแล้วติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปี งบประมาณ 2565

วันที่ 24 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1 จัดประชุมคณะกรรมการ คณะทำงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการดำเนินงานโครงการฯ   2 เสนอโครงการเพื่ออนุมัติในการดำเนินการตามโครงการฯ 3 ประชาสัมพันธ์โครงการฯ และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ   4 ดำเนินการจัดทำโครงการฯ และให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพหลังการขลิบเพื่อป้องกัน
    การติดเชื้อ 5 ประเมินผลและสรุปผลการดำเนินการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1 สามารถลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ 2 สามารถรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ 3 เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค 4 ได้รับผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศเป็นการรักษา
          ความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ 5 สามารถป้องกันการเกิดปัญหาหนังหุ้มปลาย เช่น รูดได้ไม่สุด รูดแล้วติด

 

220 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศ เป็นการรักษาความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาหนังหุ้มปลาย เช่น รูดได้ไม่สุด รูดแล้วติด
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 220
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 220
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะเสี่ยงการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ (2) เพื่อรณรงค์และสร้างความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและป้องกันโดยเฉพาะโรคติดเชื้อ (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงบริการด้านส่งเสริมและป้องกันโรค (4) เพื่อผลประโยชน์ทางด้านสุขภาพอนามัย ง่ายต่อการทำความสะอาดอวัยวะเพศ เป็นการรักษาความสะอาดและป้องกันโรคติดต่อ (5) เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาหนังหุ้มปลาย เช่น รูดได้ไม่สุด รูดแล้วติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปี งบประมาณ 2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชายในเด็กและเยาวชน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2535-01-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนุรุลฮูดา ราเซะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด