กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด


“ โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ”

ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-2-6 เลขที่ข้อตกลง 9/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID -19) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ซึ่งผู้ป่วยโรคโควิด-19 ส่วนใหญ่จะมีอาการเล็กน้อยถึงปานกลาง และบางคนหายจากโรคนี้ได้เองโดยไม่ต้องรับการรักษาพิเศษ อย่างไรก็ตามผู้ป่วยบางรายอาจป่วยหนักและเสียชีวิต ซึ่งสถานการณ์ในจังหวัดสตูล ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2564 พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 67 ราย ผู้ป่วยสะสม 7,806 ราย เสียชีวิตสะสม 87 ราย รักษาหายสะสม 6,359 ราย กำลังรักษา 1,649 ราย แม้ว่าตามรายงานสถานการณ์ของโควิด-19 ในจังหวัดสตูล พบผู้ป่วยลดลง แต่เนื่องจากตอนนี้มีการกลายพันธุ์ของโรคโควิด-19 และเกิดการระบาดของโควิด-19 โอไมครอนในหลายประเทศ และพบผู้ป่วยติดเชื้อดังกล่าวในประเทศไทย ซึ่งอาจจะทำให้เกิดการระบาดขึ้นอีกระลอก เพราะการกลายพันธุ์โรคโควิด-19 ชนิดใหม่นี้ทำให้ผู้เชี่ยวชาญในหลายประเทศกังวลว่า วัคซีนโควิด-19 ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอาจจะใช้ไม่ได้ผลกับเชื้อกลายพันธุ์ตัวนี้ เนื่องจากไวรัสมีความสามารถในการหลบหลีกภูมิต้านทานได้มากขึ้น จึงมีส่วนทำให้ประสิทธิภาพของวัคซีนลดลง แต่ก็ยังช่วยลดความรุนแรงจากการป่วยหนักได้ แต่หากมีการแพร่ระบาดลามออกไปเป็นวงกว้าง ประเทศไทยอาจต้องเผชิญกับภาวะวิกฤตอีกครั้ง
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค จึงจัดทำโครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุดขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID -19) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา(COVID -19) ในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ
  2. กิจกรรมค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อเฝ้าระวัง/การแยกกักตัวที่บ้าน
  3. ประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือน
  4. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,322
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค จำนวน 1,322 คน 1,322
อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค และฝ่ายปกครอง 23

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต 1. สามารถค้นหากลุ่มเสี่ยงสูงโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) เข้ารับการกักตัวสังเกตอาการ ร้อยละ 100 2. บุคคลกลุ่มเสี่ยงสูงโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) มีการเฝ้าระวัง ป้องกันเป็นไปตามที่มาตรการที่กรมควบคุมโรคกำหนดไว้ ร้อยละ 100 ผลลัพธ์ มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ

วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้ อสม. ฝ่ายปกครอง และแกนนำในชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมของประชาชนในพื้นที่ต่อการให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับบุคลากรด้านสาธารณสุขเมื่อมีการสัมผัสกับผู้ป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้ อสม. ฝ่ายปกครอง และแกนนำในชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมของประชาชนในพื้นที่ต่อการให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับบุคลากรด้านสาธารณสุขเมื่อมีการสัมผัสกับผู้ป่วย

 

0 0

2. กิจกรรมค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อเฝ้าระวัง/การแยกกักตัวที่บ้าน

วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19)  เพื่อเฝ้าระวัง/การแยกกักตัวที่บ้าน 2.1 ประเมินอาการ จากการซักประวัติการสัมผัสกลุ่มเสี่ยงของโรค COVID -19 2.2 จัดทีมลงพื้นที่โดยแบ่งเป็นชุมชนทั้งหมด 1 ชุมชน ประกอบด้วย
-ชุมชนบ้านนาแค เพื่อติดตามและเฝ้าระวัง  ให้ความรู้ในการดูแลตนเอง  ในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค     - ประเมินอาการไข้ จากการวัดอุณหภูมิอินฟาเรด     - แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี     - แนะนำการหลีกเลี่ยงการสัมผัส และการล้างมืออย่างถูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถค้นหากลุ่มเสี่ยงสูงโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) เข้ารับการกักตัวสังเกตอาการ ร้อยละ 100

 

0 0

3. ประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือน

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

มีการประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง จำนวน 6 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

 

0 0

4. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

วันที่ 18 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค ได้จัดทำโครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย (COVID -19) ติดตามเฝ้าระวังผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่อื่น หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด ในปีงบประมาณ ๒๕๖5 โดยมีกิจกรรมดังนี้ กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานให้ อสม. ฝ่ายปกครอง และแกนนำในชุมชน เพื่อเตรียมความพร้อมของประชาชนในพื้นที่ต่อการให้ข้อมูลที่เป็นจริงกับบุคลากรด้านสาธารณสุขเมื่อมีการสัมผัสกับผู้ป่วย
กิจกรรมที่ 2 ค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เพื่อเฝ้าระวัง/การแยกกักตัวที่บ้าน 2.1 ประเมินอาการ จากการซักประวัติการสัมผัสกลุ่มเสี่ยงของโรค COVID -19 2.2 จัดทีมลงพื้นที่โดยแบ่งเป็นชุมชนทั้งหมด 1 ชุมชน ประกอบด้วย
-ชุมชนบ้านนาแค เพื่อติดตามและเฝ้าระวัง ให้ความรู้ในการดูแลตนเอง ในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค   - ประเมินอาการไข้ จากการวัดอุณหภูมิอินฟาเรด   - แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี   - แนะนำการหลีกเลี่ยงการสัมผัส และการล้างมืออย่างถูกวิธี กิจกรรมที่ 3. ประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือนๆ ละ 1 ครั้ง กิจกรรมที่ 4. ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ และรายงานผลการดำเนินงานให้กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุดทราบ จากการดำเนินกิจกรรมเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงที่แยกกักตัวที่บ้านในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค มีทั้งหมด 236 คน ชาย 108 คน หญิง 128 คน แยกเป็นรายเดือนดังนี้ เดือนกุมภาพันธ์ 2565 มีกลุ่มเสี่ยงที่แยกกักตัวที่บ้าน จำนวน 76 คน ชาย 33 คน หญิง 43 คน เดือนมีนาคม 2565 มีกลุ่มเสี่ยงที่แยกกักตัวที่บ้าน จำนวน 101 คน ชาย 50 คน หญิง 51 คน เดือนเมษายน 2565 มีกลุ่มเสี่ยงที่แยกกักตัวที่บ้าน จำนวน 19 คน ชาย 9 คน หญิง 10 คน เดือนพฤษภาคม 2565 มีกลุ่มเสี่ยงที่แยกกักตัวที่บ้าน จำนวน 40 คน ชาย 16 คน หญิง 24 คน โดยพบกลุ่มเสี่ยงที่ใกล้ชิดผู้ป่วยโควิด-19 เรียงลำดับจากมากที่สุด 3 ลำดับแรก ดังนี้ ในวันที่ 14 มีนาคม 2565 จำนวน 23 คน ชาย 10 คน หญิง 13 คน ในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวน 16 คน ชาย 6 คน หญิง 10 คน ในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 จำนวน 14 คน ชาย 8 คน หญิง 3 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน
85.00 95.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2667
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,322 1,322
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ประชาชนในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาแค จำนวน 1,322 คน 1,322 1,322
อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 5 บ้านนาแค และฝ่ายปกครอง 23 23

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงรายละเอียดโครงการ (2) กิจกรรมค้นหา/คัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูง เพื่อเฝ้าระวัง/การแยกกักตัวที่บ้าน (3) ประชุมประเมินสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID -19) เป็นรายเดือน (4) ประชุมสรุปผลการดำเนินโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด

รหัสโครงการ L5300-65-2-6 รหัสสัญญา 9/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

มีการติดตามและเฝ้าระวัง ให้ความรู้ในการดูแลตนเอง ในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค   - ประเมินอาการไข้ จากการวัดอุณหภูมิอินฟาเรด   - แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี   - แนะนำการหลีกเลี่ยงการสัมผัส และการล้างมืออย่างถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

แนะนำการกินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ติดตามและเฝ้าระวัง ให้ความรู้คนในชุมชนในการดูแลตนเอง ในรายที่ตรวจพบว่ามีภาวะเสี่ยงตามแนวทางของกรมควบคุมโรค   - ประเมินอาการไข้ จากการวัดอุณหภูมิอินฟาเรด   - แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธี   - แนะนำการหลีกเลี่ยงการสัมผัส และการล้างมืออย่างถูกวิธี

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ อสม.ร่วมใจ ป้องกันภัย COVID -19 หมู่ที่ 5 บ้านนาแค ตำบลคลองขุด จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ L5300-65-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจิราภรณ์ พรหมเมศว์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด