กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม ”

โรงเรียนวัดท่านางหอม ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรีย์คีรีโชติ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม

ที่อยู่ โรงเรียนวัดท่านางหอม ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กันยายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนวัดท่านางหอม ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนวัดท่านางหอม ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กันยายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,335.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยเรียนเป็นสิ่งสำคัยโดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดบริเวณศรีษะผิวหนัง เล็บ เป็นต้น จากการตรวจสุขภาพนักเรียน ในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมศึกษาซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 4-14 ปี พบนักเรียนเป็นโรคเหา ซึ่งก่อให้เกิดความรำคาญทำให้ขาดสมาธิในการเรียนและเป็นที่น่ารังเกียจของสังคมรวมั้งก่อให้เกิดภาวพโลหิตจางได้ด้วย โดยมากนักเรียนที่เป็นเหา มักเป็นผู้ที่มีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ถูกต้อง เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่ายด้วยการดูแลรักษาความสะอาดของศรีษะอย่างสม่ำเสมอ แต่เนื่องจากเหาสามารถติดต่อกันได้ง่ายทั้งระหว่างนักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครอบครัว การแก้ปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียนคือต้องกำจัดเหาและปฏิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจังเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศรีษะ โดยมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศรีษะที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดต่อไป นอกจากนั้นยังพบว่านักเรียนในโรงเรียนมีปัญหาสุขภาพช่องปากเป็นจำนวนมาก ดังนั้นเพื่อเป็นการลดปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กนักเรียนให้มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น และเป็นการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนให้เหมาะสมถูกต้องตามวัย โรงเรียนวัดท่านางหอมร่วมกับเทสบาลตำบลน้ำน้อยจึงจัดทำโครงการ ส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม ขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเหาและการดูแลรักษาแก่นักเรียน
  2. เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในนักเรียน
  3. เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้ถูกต้อง
  4. นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก
  5. จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคในช่องปาก เช่นฟันผุ เหงือกอักเสบมีจำนวนลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กได้รับความรู้เรื่องโรคเหาและการดูแลรักษาด้วยตนเอง 2.ลดการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน 3.นักเรียนสามารถดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้อย่างถูกต้อง 4.นักเรียนสามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี 5.นักเรียนทำกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันจำนวนเพิ่มขึ้นด้วยตนเอง 6.จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคในช่องปาก เช่น ฟันผุ เหงือกอักเสบมีจำนวนลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้ สาธิตการแปรงฟัน

    วันที่ 27 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้ารับการอบรมครบตามเป้าหมาย

     

    87 87

    2. เชิงปฏิบัติการสาธิตการแปรงฟัน

    วันที่ 27 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้ารับการอบรมครบตามเป้าหมาย

     

    87 87

    3. อบรมให้ความรู้ การกำจัดเหา

    วันที่ 28 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้ารับการอบรมตามกลุ่มเป้าหมาย

     

    60 60

    4. เชิงปฏิบัติการกำจัดเหา

    วันที่ 28 พฤศจิกายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนเข้าร่วมครบตามเป้าหมาย

     

    60 60

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    นักเรียนเข้าร่วมครบตามกลุ่มเป้าหมาย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเหาและการดูแลรักษาแก่นักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนได้รับความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 100

     

    2 เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในนักเรียน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนเป็นเหาลดลงร้อยละ 100

     

    3 เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนไม่เป็นเหาเพิ่มขึ้นร้อยละ 100

     

    4 นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมรความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 100

     

    5 จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคในช่องปาก เช่นฟันผุ เหงือกอักเสบมีจำนวนลดลง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนที่เป็นดรคในช่องปากเช่น ฟันผุ เหงือกอักเสบมีจำนวนลดลง

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเหาและการดูแลรักษาแก่นักเรียน (2) เพื่อรักษาและควบคุมการระบาดของโรคเหาในนักเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนดูแลสุขภาพร่างกายตนเองได้ถูกต้อง (4) นักเรียนที่เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการแปรงฟันที่ถูกวิธีและตระหนักถึงความสำคัญของการแปรงฟันและรักษาสุขภาพช่องปาก (5) จำนวนนักเรียนที่เป็นโรคในช่องปาก เช่นฟันผุ เหงือกอักเสบมีจำนวนลดลง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพในนักเรียนโรงเรียนวัดท่านางหอม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัชรีย์คีรีโชติ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด