กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ”

โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายฉลองพลากุล

ชื่อโครงการ โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

ที่อยู่ โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มิถุนายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อย ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มิถุนายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 50,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันขยะมูลฝอยในโรงเรียนและชุมชนมีปริมาณมากขึ้นในแต่ละวัน ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตและสภาพแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชนเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะคนในปัจจุบันให้ความสำคัญกับรูปลักษณ์และความสะดวกสบายในการบริโภค ตลอดจนมีพฤติกรรมการทิ้งขยะทุกประเภทในถังเดียวกัน ทำให้ยากต่อการนำวัสดุที่ยังมีประโยชน์อยู่แต่ปะปนมากับขยะมูลฝอยกลับมาใช้ได้อีกดังนั้นแนวทางหนึ่งในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในโรงเรียนและชุมชนคือ ให้ทุกคนรู้จักการคัดแยกขยะ เพื่อสามารถนำวัสดุที่ยังมีประโยชน์อยู่กลับมาใช้ได้อีกทำให้ปริมาณขยะลดลงและยังเป็นการประหยัดทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตวัสดุต่างๆด้วย อย่างไรก็ตามยังพบว่านักเรียน ครูและผู้มีส่วนร่วมในโรงเรียนและชุมชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจและไม่เห็นความสำคัญของการคัดแยกขยะ รวมถึงยังไม่สามารถทิ้งขยะได้อย่างถูกวิธี ทำให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในการทิ้งขยะของนักเรียนทางโรงเรียนชุมชนบ้านน้ำน้อยร่วมกับสำนักงานเทศบาลตำบลน้ำน้อยจึงจัดโครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสร้างองค์ความรู้ ปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยมและพฤติกรรมในการทิ้งขยะของนักเรียน ครูและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนและชุมชน
  2. เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนได้ตระหนักถึงความสำคัญของสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทาง ในการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และชุมชนรวมทั้งมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  4. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพและEM ball

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนทุกคนมีความรู้ปรับเปลี่ยนเจตคิ ค่านิยมและพฤติกรรมในการทิ้งขยะในโรงเรียน และชุมชน 2.นักเรียนทุกคนได้ตระหนักถึงความสำคัญสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทางในการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง 3.นักเรียนทุกคนเกิดความร่วมมือในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และชุมชนรวมทั้งมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4.นักเรียนทุกคนมีความรู้ในการทำปุ่ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพและEM ball


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ให้ความรู้และสาธิตการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพ

    วันที่ 5 มีนาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    80 0

    2. ให้ความรู้และสาธิต

    วันที่ 5 มีนาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    80 0

    3. อบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนักเรียนรู้การคัดแยกขยะจำนวน 80 คน

    วันที่ 5 มีนาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    80 0

    4. นำนักเรียนเก็บขยะ

    วันที่ 5 มีนาคม 2561

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

     

     

    200 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ได้จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำนักเรียนการคัดแยกขยะกิจกรรมนำนักเรียนรณรงค์เก็บขยะนอกสถานที่กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเรียนรู้การทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำเรียนรู้การทำอีเอ็ม บอล เป็นที่เรียบบร้อยแล้ว

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสร้างองค์ความรู้ ปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยมและพฤติกรรมในการทิ้งขยะของนักเรียน ครูและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนรู้จักปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยมและพฤติกรรมในการทิ้งขยะในโรงเรียน และชุมชน

     

    2 เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนได้ตระหนักถึงความสำคัญของสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทาง ในการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และชุมชน

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และชุมชนรวมทั้งมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนให้เกิดความร่วมมือในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนและชุมชน

     

    4 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพและEM ball
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพและEM ball

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างองค์ความรู้ ปรับเปลี่ยนเจตคติ ค่านิยมและพฤติกรรมในการทิ้งขยะของนักเรียน ครูและผู้เกี่ยวข้องในโรงเรียนและชุมชน (2) เพื่อกระตุ้นให้นักเรียนทุกคนได้ตระหนักถึงความสำคัญของสภาพปัญหาสิ่งแวดล้อมและแนวทาง ในการแก้ไขได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือในการปกป้องสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน และชุมชนรวมทั้งมีการพัฒนาอย่างยั่งยืน (4) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ในการทำปุ๋ยหมัก/น้ำหมักชีวภาพและEM ball

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายฉลองพลากุล )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด