โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดนเราะหมาน เดเระมะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5191-5-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5191-5-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรี ได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ 11/2564 เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยเฉพาะในกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆ ในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลน อุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้นมีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดสงขลาอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุก และการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองและโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
ในการนี้มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ On-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือCovid free setting มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีดวัคซีนโควิด 19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน On-site ด้วยชุดตรวจโควิด เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
- เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
168
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
บุคลากรทางการศึกษา
14
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนและครูได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน
วันที่ 10 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
จัดซื้อ
- ชุดตรวจ ATKจำนวน 728 ชุด ๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 65,520 บาท
- หน้ากากอนามัยจำนวน20 กล่อง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
- ถุงมือยางการแพทย์ จำนวน 2 กล่อง ๆ ละ250 บาท เป็นเงิน 500 บาท
- เจลล้างมือแอลกอฮอล์ แบบแกลลอน ขนาด 5 ลิตร จำนวน 1 แกลลอน ๆ ละ 990 บาท เป็นเงิน 990 บาท
- แอลกอฮอล์น้ำ แบแกลลอน ขนาด 5 ลิตร จำนวน 1 แกลลอน ๆ ละ 990 บาท เป็นเงิน 990 บาท
รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 70,000 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
นักเรียน คุณครู และบุคลากรได้รับการคัดกรองทุกคน
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านคลองขุดทุกคน ได้รับการคัดกรองโรคโควิด19 ด้วยชุดตรวจ ATK ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ๆ ละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีการตรวจในกรณีที่นักเรียนต้องไปเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่มีการร้องขอให้มีการนำผลการตรวจ ATK มายืนยันเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกับคนหมู่มากได้ ทำให้ลดการแพร่กระจายการติดเชื้อโควิด19 ได้ โดยเฉพาะในช่วงที่มีการระบาดอย่างรุนแรงที่ทำให้โรงเรียนต้องหยุดการจัดการเรียนการสอนแบบ On-site มาเป็นการเรียนแบบ On-line ที่บ้านนั้น โรงเรียนได้มอบชุดตรวจ ATK ให้นักเรียนทุกคนไว้นำไปตรวจเองที่บ้าน หากนักเรียนอยู่ในภาวะเสี่ยง เมื่อโรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-site ได้ตามปกติอีกครั้ง โรงเรียนได้ดำเนินการตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน โดยการทำความสะอาดบริเวณต่างๆ ด้วยแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการสัมผัสอยู่บ่อยครั้ง เช่น ลูกบิดประตู มือจับประตูหน้าต่าง เป็นต้น และมีการเตรียมหน้ากากอนามัยมาสำรองไว้สำหรับนักเรียนที่ลืมนำหน้ากากอนามัยมาใส่ขณะเรียนอยู่ที่โรงเรียน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสียงในโรงเรียน
182.00
175.00
182.00
2
เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : รักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง เพิ่มขึ้น
182.00
175.00
182.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
182
182
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
168
168
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บุคลากรทางการศึกษา
14
14
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5191-5-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอับดนเราะหมาน เดเระมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายอับดนเราะหมาน เดเระมะ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5191-5-06 เลขที่ข้อตกลง 06/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปากบาง อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5191-5-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 70,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากบาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรี ได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ 11/2564 เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม 2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564 นั้น สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด 19 ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศ โดยเฉพาะในกรุงเทพและปริมณฑล รวมถึง 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง 29 จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆ ในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลน อุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้นมีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดสงขลาอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุก และการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมองและโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ
ในการนี้มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ On-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือCovid free setting มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีดวัคซีนโควิด 19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน On-site ด้วยชุดตรวจโควิด เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
- เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 168 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
บุคลากรทางการศึกษา | 14 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
นักเรียนและครูได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด 19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน |
||
วันที่ 10 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำจัดซื้อ - ชุดตรวจ ATKจำนวน 728 ชุด ๆ ละ 90 บาท เป็นเงิน 65,520 บาท - หน้ากากอนามัยจำนวน20 กล่อง ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท - ถุงมือยางการแพทย์ จำนวน 2 กล่อง ๆ ละ250 บาท เป็นเงิน 500 บาท - เจลล้างมือแอลกอฮอล์ แบบแกลลอน ขนาด 5 ลิตร จำนวน 1 แกลลอน ๆ ละ 990 บาท เป็นเงิน 990 บาท - แอลกอฮอล์น้ำ แบแกลลอน ขนาด 5 ลิตร จำนวน 1 แกลลอน ๆ ละ 990 บาท เป็นเงิน 990 บาท รวมเป็นเงิน ทั้งสิ้น 70,000 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นนักเรียน คุณครู และบุคลากรได้รับการคัดกรองทุกคน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียนและบุคลากรโรงเรียนบ้านคลองขุดทุกคน ได้รับการคัดกรองโรคโควิด19 ด้วยชุดตรวจ ATK ทุกวันจันทร์ของสัปดาห์ๆ ละ 1 ครั้ง นอกจากนี้ยังมีการตรวจในกรณีที่นักเรียนต้องไปเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่มีการร้องขอให้มีการนำผลการตรวจ ATK มายืนยันเพื่อเข้าร่วมกิจกรรมกับคนหมู่มากได้ ทำให้ลดการแพร่กระจายการติดเชื้อโควิด19 ได้ โดยเฉพาะในช่วงที่มีการระบาดอย่างรุนแรงที่ทำให้โรงเรียนต้องหยุดการจัดการเรียนการสอนแบบ On-site มาเป็นการเรียนแบบ On-line ที่บ้านนั้น โรงเรียนได้มอบชุดตรวจ ATK ให้นักเรียนทุกคนไว้นำไปตรวจเองที่บ้าน หากนักเรียนอยู่ในภาวะเสี่ยง เมื่อโรงเรียนสามารถเปิดเรียนแบบ On-site ได้ตามปกติอีกครั้ง โรงเรียนได้ดำเนินการตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน โดยการทำความสะอาดบริเวณต่างๆ ด้วยแอลกอฮอล์ โดยเฉพาะบริเวณที่มีการสัมผัสอยู่บ่อยครั้ง เช่น ลูกบิดประตู มือจับประตูหน้าต่าง เป็นต้น และมีการเตรียมหน้ากากอนามัยมาสำรองไว้สำหรับนักเรียนที่ลืมนำหน้ากากอนามัยมาใส่ขณะเรียนอยู่ที่โรงเรียน
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน ตัวชี้วัด : ร้อยละความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสียงในโรงเรียน |
182.00 | 175.00 | 182.00 |
|
2 | เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : รักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง เพิ่มขึ้น |
182.00 | 175.00 | 182.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 182 | 182 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 0 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 168 | 168 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
บุคลากรทางการศึกษา | 14 | 14 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน (2) เพื่อเพิ่มนักเรียนและครูที่มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโควิด-19 จนสามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโควิด-19 เช่น การล้างมือ การสวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างทางสังคม กินร้อน ช้อนส่วนตัว ไม่ใช้สิ่งของร่วมกัน ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) คัดกรอง ATK ให้กับนักเรียนและครูในโรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการจัดซื้อชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) โรงเรียนบ้านคลองขุด ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 65-L5191-5-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอับดนเราะหมาน เดเระมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......