กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)โรงเรียนบ้านหินผุด
รหัสโครงการ ปี2565-L5275-02-3
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านหินผุด
วันที่อนุมัติ 26 พฤศจิกายน 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2545 - 31 มีนาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 เมษายน 2565
งบประมาณ 31,850.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางศิริสรณ์ เอกะโรหิต ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านหินผุด
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 152 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๑. เพื่อให้บุคลากร ครู และนักเรียน ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ได้ถูกต้อง
  • ร้อยละ ๑๐๐ ของบุคลากร ครู และนักเรียนตรวจวัดอุณหภูมิผ่านจุดคัดกรองก่อนเข้าสถานศึกษา -ร้อยละ ๑๐๐ ของบุคลากร ครู นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
0.00
2 ๒. เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียน สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา๒๐๑๙(COVID-๑๙) ได้
  • ร้อยละ๑๐๐ ของบุคลากร ครู นักเรียนสามารถจัดกิจกรรม “Big Cleaning Day” ได้
  • ร้อยละ  ๑๐๐ จัดสถานที่เพื่อเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล ได้ตามที่กำหนด
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

(๑) การเตรียมงาน ๑.๑ แต่งตั้งคณะทำงานป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙) เพื่อกำหนดมาตรการ และแนวทางของสถานศึกษา
๑.๒ จัดประชุมวางแผนการดำเนินงาน ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน (๒) กิจกรรมดำเนินการ     ๒.๑ กิจกรรมประชาสัมพันธ์/จัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙)
๒.๒ กิจกรรมการจัดอบรมให้ความรู้เรื่อง โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด ๑๙)
๒.๒ กิจกรรมรณรงค์คัดกรอง จัดจุดคัดกรองก่อนเข้าสถานที่  และรณรงค์ล้างมือ “Hand washing day”     ๒.๓  กิจกรรมรณรงค์ทำความสะอาดจุดสัมผัสร่วมภายในโรงเรียน “Big Cleaning Day” ทุกวันพฤหัสบดี     ๒.๔  กิจกรรมจัดสถานที่เพื่อเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เช่น การเข้าแถว การเข้าคิว การจัดที่นั่งเรียน การจัดที่นั่ง รับประทานอาหาร ตามมาตรการ เว้นระยะห่างทางกายภาพ (Physical Distancing) (๓) สรุปผลการดำเนินงาน และรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

(๑)  บุคลากร ครู และนักเรียนสามารถปฏิบัติตามมาตรการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ได้ (๒)  สามารถป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙ ) ในโรงเรียนได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 12 ม.ค. 2565 16:06 น.