กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่


“ โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19) ”

ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางญาณิศา น้อยสร้าง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19)

ที่อยู่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-5-2 เลขที่ข้อตกลง 06/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L8405-5-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 95,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งยอมาจาก “Coronavirus disease 2019” เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส ที่ระบาดเมือปี 2545 ทำให้เกิดโรคทางเดินหายใจอักเสบเสียบพลันปอดอักเสบและมีภาวะแทรกซ้อน พบแหล่งกำเนิดจากเมืองอู่ฮั่น มลฑลหูเป่ย ประเทศจีน จากที่มีผู้ป่วยมีอาการคล้ายปอดอักเสบและไข้หวดใหญ่เป็นจำนวนมาก จึงมีการเก็บตัวอย่างของคนไข้เหล่านี้ไปถอดรหัสพันธุกรรมและได้ว่าเป็นเชื้อ ไวรัสโคโรนา ซึ่งเป็นสายพันธุ์ที่ 7 ที่ถูกค้นพบ เป็นตระกูลเดียวกับโรคซาร์ส (SARS) และเมอร์ส (MERS) รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 26 มีนาคม 2563 ข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 37 ) และคำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 19/2564 เรื่องพื้นที่ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุมตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 ประกาศระบุพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดรวม 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดจันทบุรี จังหวัดตาก จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดนราธิวาส จังหวัดปัตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดสงขลา ส่วนจังหวัดสตูลจัดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด จาก 38 จังหวัดพื้นที่ควบคุมรวม 23 จังหวัด พื้นที่เฝ้าระวัง รวม 5 จังหวัด
สถานการณ์การเกิดโรคโควิด – 19 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่นับตั้งแต่การระบาดระลอกที่ 3 ปี 2564มีผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันโรคโควิด – 19จากข้อมูลรายงานทางระบาดวิทยาณ วันที่25ธันวาคม2564 จำนวน194 ราย คิดเป็นอัตราป่วยต่อแสนประชากร เท่ากับ3,563.56 พบการระบาดในครัวเรือนอย่างต่อเนื่องเป็นวงกว้างทำให้ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์การระบาดได้และมีแนวโน้มการระบาดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเนื่องจากในพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่มีทั้งประชาชนกลุ่มเสี่ยง สถานที่เสี่ยง และกิจกรรมเสี่ยง ซึ่งเป็นสถานที่ที่ประชาชนรวมตัวกันจำนวนมากก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 เป็นวงกว้าง ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลและรักษาเชิงรุกการป้องกันไม่ให้มีการเกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่จึงมีการตรวจคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคโควิด – 19 เบื้องต้น ให้แก่ ประชาชนกลุ่มเสี่ยง สถานที่เสี่ยง หรือกิจกรรมเสี่ยงในชุมชนด้วยชุดทดสอบ Antigen test kit (ATK)แบบ Self testเพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อโรคโควิด - ๑๙ และเพื่อป้องกันปัญหาการแพร่ระบาดของโรคโควิด – 19 ในชุมชนได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การให้บริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลทุ่งใหญ่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ปชช.ในตำบลทุ่งใหญ่สามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีนโควิด -19 ทุกคน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เนื่องจากมีการรณรงค์ให้ประชาชนไปรับบริการฉีดวัคซีนก่อนมีการดำเนินโครงการเป็นจำนวนมากแล้ว
  • ได้ดำเนินกิจกรรมรณรงค์ให้ประชาชนมารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 ที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ จำนวน 4 ครั้ง ในช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน 2565 และมีผู้มารับการฉีดวัคซีน จำนวน 129 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ ปชช.ในตำบลสามารถเข้าถึงบริการฉีดวัคซีน
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3000
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 3,000
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้รับบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เชิงรุก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การให้บริการฉีดวัคซีนโควิด-19  เชิงรุกแก่ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ตำบลทุ่งใหญ่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการฉีดวัคซีนโควิด-19 (COVID-19) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L8405-5-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางญาณิศา น้อยสร้าง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด