กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา ”

ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายทรงพล อารมณ์เย็น

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา

ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ ปี2565-L5275-02-5 เลขที่ข้อตกลง 6/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ปี2565-L5275-02-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรอันเนื่องมาจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ตั้งแต่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นมา และคณะรัฐมนตรีได้มีมติขยายระยะเวลาการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร (คราวที่ ๑๕) ออกไปถึง ๓๑ มกราคม ๒๕๖๕ โดยได้มีการเผยแพร่ประกาศลงในเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ตั้งแต่วันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ ยังได้เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ที่ ๒๓/๒๕๖๔ เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุม พื้นที่เฝ้าระวังสูง และพื้นที่นำร่องด้านการ ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา๙แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ เพื่อให้การบริหารจัดการและเตรียมความพร้อมในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ตามแนวทางจัดเขตพื้นที่สถานการณ์ โดยกำหนดพื้นที่ควบคุม จำนวน ๓๙ จังหวัดและจังหวัดสงขลาถูกกำหนดให้เป็นจังหวัดพื้นที่ควบคุม ทั้งนี้ จากข้อมูลกลุ่มภารกิจสื่อสารความเสี่ยง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ ๓ มกราคม ๒๕๖๕ รายงานว่าจังหวัดสงขลามีผู้ป่วยยืนยันสะสม (ตั้งแต่ ๑ เมษายน ๒๕๖๔) จำนวน ๖๗,๐๖๐ ราย จำนวนผู้เสียชีวิตสะสม จำนวน ๓๐๙ ราย และมีจำนวนผู้ติดเชื้อสะสมในอำเภอหาดใหญ่ จำนวน ๑๕,๘๙๔ ราย
จากสถานการณ์ดังกล่าวข้างต้น สำหรับโรงเรียนและสถานศึกษาปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอนตามสถานการณ์และมาตรการที่จังหวัดกำหนด โดยมีการเรียนการสอนแบบ On Line หรือ On Hand หรือ On Demand โดยเลี่ยงจัดการเรียนการสอนแบบ On Site ตามมาตรการของภาครัฐมาอย่างต่อเนื่อง จากสถานการณ์ที่ ศบค.ได้ผ่อนคลายมาตรการและปรับลดพื้นที่สถานการณ์ของจังหวัดสงขลาลง จากเดิมพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดเป็นพื้นที่ควบคุม อาศัยคำสั่งคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดสงขลา ที่ ๑๗๐/๒๕๖๔ ลงวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๖๔ เรื่อง มาตรการควบคุมพื้นที่ที่จำเป็นอย่างเร่งด่วนเพื่อป้องกันแลควบคุมการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID-๑๙)จังหวัดสงขลา โรงเรียนหรือสถานบันการศึกษาทุกประเภท สามารถใช้อาคารหรือสถานที่เพื่อการจัดการเรียนการสอน การสอบ การฝึกอบรม หรือทำกิจกรรมใดได้ตามความเหมาะสม โดยรูปแบบของดำเนินการให้เป็นไปตามแนวทางการจัดระเบียบและระบบต่างๆ คำแนะนำของทางราชการ และมาตรการป้องกันโรคที่ราชการกำหนด ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด “มาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร” (Covid Free Setting) เพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับการดำเนินงานของสถานที่ กิจการหรือกิจกรรมในพื้นที่ เพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน ๗ กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูง หรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย
ในการนี้ โรงเรียนกำหนดเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting มีกิจกรรมให้ครู และนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-๑๙ ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน on site ด้วยชุดตรวจ ATK เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (Covid-๑๙) ให้ทันต่อสถานการณ์การเปิดเรียนแบบ    on-site ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ในวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๕ ของโรงเรียนบ้านวังพา จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา(Covid-๑๙)โรงเรียนบ้านวังพา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนได้รับการคัดกรอง เพื่อเฝ้าระวัง และติดตามตามมาตรการป้องกันและควบคุมโรคในสถานศึกษา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละ ๑๐๐ นักเรียน ครู และบุคลากรของโรงเรียนได้รับการคัดกรองตามเกณฑ์มาตรฐานสถานศึกษา - ร้อยละ ๑๐๐ ของกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการคัดแยกตามเกณฑ์มาตรฐานของสถานศึกษา
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 204
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 204
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) โรงเรียนบ้านวังพา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ ปี2565-L5275-02-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายทรงพล อารมณ์เย็น )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด