กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะบ้านบือแต(อบรม)
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ คณะกรรมการมัสยิด
วันที่อนุมัติ 25 กรกฎาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 23 ตุลาคม 2560 - 23 ตุลาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะซูมัยด์ มะดีเย๊าะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลจะแนะ อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.077,101.693place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 60 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ตามที่รัฐบาลโดยกระทรวงสาธารณสุข โดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนราธิวาส ได้มาติดตามกิจกรรมการพัฒนาศาสนสถานส่งเสริมสุขภาพจากนิเทศติดตามการดำเนินโครงการพัฒนาศาสนส่งเสริมสุขภาพของมัสยิดบ้านบือแตยังมีข้อที่ต้องปรับปรุงแก้ไขโดยเฉพาะการคัดแยกประเภทขยะที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลและประชาชนในชุมชนบ้านบือยังขาดความรู้ในการคัดแยกประเภทขยะและการจัดเก็บขยะที่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาลอีกด้วย ดังนั้น คณะกรรมการมัสยิดบ้านบือแต จึงจัดทำโครงการมัสยิดร่วมใจคัดแยกขยะบ้านบือแตขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกประเภทขยะ

 

2 2เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง

 

3 3.เพื่อให้ศาสนสถานสามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

5.1 ประชุมคณะกรรมการมัสยิด 5.2 เขียนโครงการ 5.3 ดำเนินการตามโครงการฯ 5.4 ประเมินผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มัสยิดมีความสะอาดและมีการคัดแยกประเภทขยะ
2.ประชาชนมีความรู้ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง
3.ศาสนสถาน(มัสยิด)สามารถเป็นต้นแบบและเป็นการสร้างสุขภาพในชุมชนได้ 4.ศาสนสถาน(มัสยิด)ผ่านเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด 5.ชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยกขยะในศาสนสถาน(มัสยิด)และในชุมชนได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ก.ย. 2560 01:02 น.