กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย


“ โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ”

ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีย๊ะสิการาเสาะ

ชื่อโครงการ โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560

ที่อยู่ ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L 4161 - 2560 - 15 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโงย อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L 4161 - 2560 - 15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาโงย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้เห็นชอบ Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย และแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ต้องเร่งแก้ไขปัญหากำจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกต้องและตกค้างสะสม เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2559 และได้สั่งการให้ดำเนินการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอย ทั้งในกรุงเทพมหานคร ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และท้องถิ่น ในทุกมิติ โดยมีแนวทางปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) กำจัดขยะมูลฝอยตกค้างสะสมในสถานที่ กำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่วิกฤต (ขยะมูลฝอยเก่า) 2)สร้างรูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายที่เหมาะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) เน้นการลดและการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ค้นทางการจัดการขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม กำจัดโดยเทคโนโลยีแบบผสมผสานเน้นการแปรรูปเป็นพลังงานหรือทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3) วางระเบียบ มาตรการการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 4)สร้างวินัยของคนในชาติมุ่งสู่การจัดการที่ยั่งยืน เน้นให้ความรู้ประชาชน และบังคับใช้กฎหมายและคณะรัฐมนตรีในคราวประชุม เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2559 ลงมติเห็นด้วยกับแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ (พ.ศ.2559-2564) ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(ทส.) เสนอ และให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงมหาดไทยจัดทำแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยระยะสั้น (พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๐) ประกอบกับนายกรัฐมนตรี (พลเอกประยุทธ์จันทร์โอชา) ได้กล่าวในรายการคืนความสุขให้คนในชาติ ซึ่งเผยแพร่ออกอากาศเมื่อวันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม 2559 เกี่ยวกับการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างเป็นรูปธรรม และได้รับมอบหมายให้กระทรวงมหาดไทยบูรณาการร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในกาดรจัดทำแผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ นำกลับมาใช้ใหม่โดยมีเป้าหมายเพื่อลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศลดลงร้อยละ 5 จากอัตราการเกิดขยะมูลฝอย ทั้งนี้ กระทรวงมหาดไทยได้จัดทำแนวทางปฏิบัติงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ซึ่งมีหลักการสำคัญด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ในระดับจังหวัด อำเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อดำเนินการตามมาตรการที่กำหนดให้เกิดผลตามเป้าหมายอย่างเป็นรูปธรรม

ตำบลบาโงยเป็นตำบลขนาดเล็ก มีประชากร 2,844 คน และจำนวน 778 ครัวเรือน เป็นชุมชนที่ยังคงรักษาวิถีชีวิตดั้งเดิม ปัจจุบันพื้นที่ตำบลบาโงยมีการจัดการเรื่องขยะด้วยครัวเรือนมีการจัดการตนเอง โดยมีหน่วยงานในพื้นที่คอยให้ความรู้และสร้างจิตสำนึกในการแก้ปัญหาขยะตลอดเรื่อยมา ประกอบกับนโยบายผู้บริหารท้องถิ่นจะไม่มีการการดำเนินการจัดซื้อรถขยะ เนื่องจากสิ้นเปลืองงบประมาณและปัญหาด้านรายจ่ายที่ไม่เพียงพอ ปัญหาขยะในปัจจุบันของพื้นที่ตำบลบาโงยยังคงมีให้เห็นเนื่องจากประชาชนขาดจิตสำนึก มีการทิ้งขยะบริเวณข้างทาง และ จากความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของประชากร ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภคบริโภคของคนเราได้เปลี่ยนไปจากเดิมทำให้เกิดมูลฝอย และของเสียอันตรายเพิ่มขึ้นไปด้วย ผลกระทบที่ตามมามีทั้งความสูญเสียทางด้านสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมูลพิษทางน้า ทางดินเสื่อมสภาพ ความเสียหายจากเหตุรำคาญส่งกลิ่นเหม็นรบกวน รวมถึงเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ที่เป็นพาหะนำโรค เสียหายต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ และสิ้นเปลืองงบประมาณของรัฐที่ใช้ในการแก้ไขขยะมูลฝอย และของเสียอันตราย ซึ่งในปีงบประมาณ 2560 ทางองค์การบริหารส่วนตำบลบาโงยได้มีการดำเนินโครงการชุมชนปลอดขยะอย่างยืน โดยมีกิจกรรมในการให้ความรู้กับครัวเรือนในการคัดแยกขยะในครัวเรือนพร้อมทั้งปลุกฝังจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักเกี่ยวกับปันหาขยะและได้มีการกำหนดจุดทิ้งขยะอันตรายของชุมชน ทั้ง 4 หมู่บ้าน และให้มารวบรวมไว้ที่ อบต. เพื่อดำเนินการจัดส่งให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดยะลานำไปดำเนินการกำจัดต่อไปและเพื่อให้การขับเคลื่อน Roadmap การจัดการขยะมูลฝอยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือการใช้น้อย ใช้ซ้ำนำกลับมาใช้ใหม่ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อดำเนินโครงการ “ขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ” ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยโดยการคัดแยกวัสดุรีไซเคิลออกจากขยะมูลฝอย โดยใช้แนวทางทางศาสนาที่กล่าวว่า “ ความสะอาดเป็นส่วนหนึ่งของการศรัทธา ” และหลักการจ่ายซากาต การทำบุญมาเป็นแนวทางในการดำเนินกิจกรรม โดยรับบริจาคขยะรีไซเคิลที่ผ่านการคัดแยกจากครัวเรือนแล้วเช่น ขวดน้ำ ขวดพลาสติก เป็นต้น โดยตั้งจุดรับบริจาคตามมัสยิดในแต่ละหมู่บ้านตามวันและเวลาที่กำหนด เพื่อนำไปจำหน่ายและนำรายได้ที่ได้รับไปบริจาคให้กับตาดีกาในพื้นที่ตำบลบาโงยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
  2. 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น
  3. 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน
  4. 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ
  5. 5 เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิดการจัดการขยะมูลฝอยการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นสอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
  6. 6. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอยนำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
      1. สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น
      2. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน
      3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ 5 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิดการจัดการขยะมูลฝอยการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นสอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
      4. สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอยนำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. กิจกรรมขยะแลกบุญ เพื่อสมทบทุนการบริหารจัดการของมัสยิดและตาดีกาในพื้นที่ตำบลบาโงย

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
      1. สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น
      2. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน
      3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ 5 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด  การจัดการขยะมูลฝอย  การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ  และสิ่งปฏิกูลต่างๆ  และบูรณาการ  ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น  สอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
      4. สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอย  นำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

     

    0 120

    2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้การคัดแยกขยะ

    วันที่ 1 กรกฎาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
      1. สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น
      2. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน
      3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ 5 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด  การจัดการขยะมูลฝอย  การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ  และสิ่งปฏิกูลต่างๆ  และบูรณาการ  ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น  สอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
      4. สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอย  นำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

     

    120 120

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ทางองค์การบีิหารส่วนตำบลบาโงยได้ขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อดำเนินกิจกรรม  โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เป็นจำนวนเงิน 40,040.- บาท โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ 2.เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน 4.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ 5เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด  การจัดการขยะมูลฝอย  การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ  และสิ่งปฏิกูลต่างๆ  และบูรณาการ  ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น  สอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน 6. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอย  นำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

    1. กลุ่มเป้าหมาย
      • ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 1 ถึง หมู่ที่ 4  จำนวน 710ครัวเรือน ได้แก่ หมู่ที่ 1 จำนวนครัวเรือนที่คัดเลือกจำนวน 206 ครัวเรือน หมู่ที่ 2 จำนวนครัวเรือนที่คัดเลือกจำนวน 270 ครัวเรือน หมู่ที่ 3 จำนวนครัวเรือนที่คัดเลือก จำนวน 110ครัวเรือน หมู่ที่ 4 จำนวนครัวเรือนที่คัดเลือก จำนวน 124  ครัวเรือน
      • หน่วยงานราชการในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง ได้แก่

    - องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย
    - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาโงย
    - โรงเรียนบ้านบาโงย
    - โรงเรียนบ้านยือโร๊ะ - ศาสนสถานในพื้นที่ตำบลบาโงย - มัสยิดในพื้นที่ จำนวน 5 แห่ง 1. มัสยิดดารูลนาอีม หมู่ที่ 1 ตำบลบาโงย 2. มัสยิดดารุลอิสลาฮ หมู่ที่ 1 ตำบลบาโงย 3.มัสยิดนุรดีนุลอิสลาม  หมู่ที่ 2 ตำบลบาโงย 4.มัสยิดดารุสสากีรีน หมู่ที่ 3 ตำบลบาโงย 5. มัสยิดดารุลมุตตากีน หมู่ที่ 4 ตำบลบาโงย - บาลาเซาะห์ในพื้นที่ จำนวน 5 แห่ง 1.บาลาเซาะห์ลูโบ๊ะนิบง ที่ 1 2.บาลาเซาะห์ลูโบ๊ะนิบง ที่ 2 3.บาลาเซาะห์ปาแดโต๊ะโด 4. บาลาเซาะห์ปาวมานิส 5. บาลาเซาะห์สี่แยก - ตาดีกาในพื้นที่ จำนวน 4 แห่ง 5. รูปแบบการดำเนินการ เชิญชวนทุกครัวเรือน “ คัดแยกขยะ และ เก็บรวบรวมขยะรีไซเคิล ”เพื่อนำเข้าร่วมกิจกรรมขยะแลกบุญเพื่อสมทบทุนการบริหารจัดการของมัสยิดและตาดีกาในพื้นที่ตำบลบาโงยโดยกำหนดจุดรับบริจาคขยะดังนี้ - หมู่ ที่ 1 ณ มัสยิดดารุลนาอีม และ มัสยิดดารุลอิสลาฮ ทุกวันที่ 1 ของเดือน
    - หมู่ ที่ 2 ณ มัสยิดนูรดินนุลอิสลาม ทุกวันที่ 2 ของเดือน - หมู่ ที่ 3 ณ มัสยิดดารุสสากีรีน ทุกวันที่ 3 ของเดือน - หมู่ ที่ 4 ณ มัสยิดดารุลมุตตากีน ทุกวันที่ 4 ของเดือน

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ
    1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ 2. สร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน 4. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ 5 สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน  ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิด  การจัดการขยะมูลฝอย  การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม  ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ  และสิ่งปฏิกูลต่างๆ  และบูรณาการ  ความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น  สอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน 6. สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอย  นำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5 เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิดการจัดการขยะมูลฝอยการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นสอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
    ตัวชี้วัด :

     

    6 6. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอยนำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการกำจัดขยะ (2) 2. เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ตนเองและผู้อื่น (3) 3. ลดปริมาณขยะมูลฝอย สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสร้างความรำคาญต่อชุมชน (4) 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยในพื้นที่ ลดงบประมาณเพื่อการจัดการขยะมูลฝอยและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษ และสิ่งปฏิกูลต่างๆ (5) 5 เพื่อเป็นการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมถิ่นเกิดการจัดการขยะมูลฝอยการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นผลมาจากขยะมีพิษและสิ่งปฏิกูลต่างๆและบูรณาการความร่วมมือในการจัดการสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่นสอดคล้องหลักการของเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน (6) 6. เพื่อสร้างจิตสำนึกให้ประชาชนลดใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคและการทิ้งขยะมูลฝอยนำไปสู่แนวทางการป้องกันปัญหามลพิษที่เกิดขึ้นในอนาคต

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการขยะแลกบุญ องค์การบริหารส่วนตำบลบาโงย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ L 4161 - 2560 - 15

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวนูรีย๊ะสิการาเสาะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด