กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ


“ โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 ”

ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายณัฐวัตร ง๊ะสมัน

ชื่อโครงการ โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

ที่อยู่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5282-02-04 เลขที่ข้อตกลง 5/65

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอุใดเจริญ อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5282-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 47,480.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อุใดเจริญ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันเกิดสถานการณ์การระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2564 ขณะนี้พบผู้ป่วยติดเชื้อใหม่ จำนวน 9,810 รายผัป่วยยืนยันสะสม 1,802,526รักษาหายและแพทย์ให้กลับบ้าน 1,683,021 รายผู้ป่วยยืนยันที่เสียสะสม18,531ราย (ข้อมูลจาก : รายงานข่าวกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ศูนย์ปฏิบัติการด้านข่าวโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 22 ตุลาคม 2564เวลา 12.30 น.)
จากข้อมูลการรายงานเห็นได้ว่าสถานการณ์การระบาดในประเทศยังคงมีความจำเป็นต้องเฝ้าระวังและดำเนินการอย่างต่อเนื่องตามหลักการควบคุมป้องกันโรค ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ดังนั้นการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จำเป็นต้องสร้างความรู้ ความตระหนัก ในการปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคมการสวมและใช้หน้ากากอนามัยอย่างถูกวิธีการมีและใช้สบู่หรือเจลแอลกอล์ฮอล์ในการล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อโรคที่อาจมาจากกการสัมผัสการทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานานโดยมีกระบวนการให้ความรู้ คำแนะนำต่อกลุ่มเป้าหมาย การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองให้กับประชาชนในเขตพื้นที่ ได้แก่ หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุขสถานประกอบการ สถานศึกษา ศูนย์เด็กเล็ก หน่วยราชการ ห้างสรรพสินค้า ชุมชน และบริการสาธารณะต่าง ๆ ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของตำบลควนกาหลง โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 มีความตระหนักถึงความรับผิดชอบในการดูแลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน รวมถึงผู้มาติดต่อราชการ จึงต้องมีมาตรการเฝ้าระวังและป้องการการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของนักเรียนและบุคลากรของโรงเรียน รวมถึงผู้มาติดต่อราชการ ตลอดจนป้องกันไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคในวงกว้างได้หากมีการติดเชื้อภายในโรงเรียนบ้านควนล่อน ประกอบกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กำหนดเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 แต่ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ถึงมีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ ON-SITE ด้วยเหตุนี้ โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 จึงขอเสนอโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2เพื่อเป็นการจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยขอรับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ เป็นเงินทั้งสิ้น 47,480 บาท (เงินสี่หมื่นเจ็ดพันสี่ร้อยแปดสิบบาทถ้วน)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรค การคัดกรองอุณหภูมิ การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์
  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2
  2. กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันนักเรียนบุคลากรและประชาชนที่ มารับบริการภายในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรคการคัดกรองอุณหภูมิ การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานานและส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ ในโรงเรียนบ้นิคมพัฒนาภาคใต้ 2

  2. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคโควิด-19 เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโควิด (COVID-19) ให้กับนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 และมีจุดจ่ายเจลแอลกอฮอล์ทุกอาคารเรียน

  3. นักเรียน ผู้ปกครอง บุคลากรมีความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

  4. นักเรียน ครูและบุคลากร โรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2มีความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้

  5. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคภายในโรงเรียนสู่ชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรค การคัดกรองอุณหภูมิ การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์
ตัวชี้วัด : ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียนและบุคลากรของของโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 และผู้ปกครองที่มาติดต่อ ประสานงานยังโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 มีความมั่นใจในมาตรการการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และการให้บริการจากบุคลากรในองค์กร
0.00

 

2 เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2
ตัวชี้วัด : นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรค  การคัดกรองอุณหภูมิ  การเว้นระยะห่างทางสังคม  การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน  และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ (2) เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา  (COVID-19) แก่นักเรียนและบุคลากรของโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 (2) กิจกรรมการเฝ้าระวังและป้องกันนักเรียนบุคลากรและประชาชนที่ มารับบริการภายในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5282-02-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายณัฐวัตร ง๊ะสมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด