กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดโรค(ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)
รหัสโครงการ 2565-L5221-3-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.ท่าบอน (อนุบาล 3 ขวบ)
วันที่อนุมัติ 24 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 มีนาคม 2566
กำหนดวันส่งรายงาน 31 มีนาคม 2566
งบประมาณ 14,250.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางปวันรัตน์ จันดาประดิษฐ์
พี่เลี้ยงโครงการ นายทนงค์ศักดิ์ ภักดีไพบูลย์สกุล
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 35 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 เด็กปฐมวัย อายุ 2-6 ปี เด็กปฐมวัย อายุ 2-6 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงต่อติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid -19)
35.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ไม่ให้แพร่ระบาดในสถานที่ต่างๆ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเอง ให้ทันต่อเหตุการณ์ หน้ากากอนามัย แอลกอฮอล์ล้างมือ เครื่องมือวัดอุณหภูมิ น้ำยาหรือเคมีฆ่าเชื้อโรค และสิ่งอุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็นใช้ในการควบคุมและป้องกันโรค ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเป็นสถานที่เตรียมความพร้อมเด็กก่อนวัยเรียน จึงมีเด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเด็กเจ็บป่วยอาจทำให้เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายและติดต่อระหว่างกันได้ง่าย เด็กปฐมวัยเป็นช่วงอายุที่อยู่ระหว่างการพัฒนาของร่างกาย จิตใจ และสมอง นอกจากนี้ยังเป็นช่วงที่ร่างกายมีภูมิต้านทานโรคต่ำ ส่งผลให้เด็กเจ็บป่วยได้ง่ายและพบได้บ่อย โดยเฉพาะโรคไข้หวัด อุจจาระร่วง มือ เท้า ปาก คางทูม อีสุกอีใส และหัด ซึ่งการเจ็บป่วยในวัยนี้อาจส่งผลต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก ถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษาตั้งแต่เริ่มป่วยอาจทำให้การเจ็บป่วยมีอาการหรือภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงถึงเสียชีวิตได้ นอกจากนี้เมื่อเด็กเกิดเจ็บป่วยยังส่งผลกระทบต่อผู้ปกครองที่ต้องหยุดงานเพื่อให้การดูแลเด็ก ทำให้ขาดรายได้ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ดังนั้นการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น และมีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการช่วยลดการเกิดและแพร่กระจายของโรคติดต่อดังกล่าว ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงได้จัดโครงการศูนย์เด็กปลอดโรคขึ้น โดยครูผู้ดูแลเด็กเป็นบุคลากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะพัฒนาให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดภัยจากโรคติดต่อต่างๆ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพ่ือครู ผู้ปกครองเด้ก ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพ และควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (covid 19) ไม่ให้แพร่ระบาดในสถานท่ีต่่าง ๆ

ผู้ปกครองและเด็กปฐมวัยให้ความร่วมมือในการป้องกันโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

35.00 35.00
2 2.เพ่ืออบรมให้ความรู้การเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid -19)

ผู้ปกครองมีความรู้และให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid -19)

35.00 35.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 14,250.00 4 14,250.00
1 เม.ย. 65 - 30 ก.ย. 65 1.จัดซื้อจัดหา วัสดุ อุปกรณื์ สำหรับป้องกันโรค (ไวรัสโคโรนา 2019 (covid -19) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 13,050.00 13,050.00
17 พ.ค. 65 - 31 มี.ค. 66 2.คัดกรองสุขภาพเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล๋็ก 0 0.00 0.00
20 พ.ค. 65 3.อบรม ผู้ปกครอง คณะกรรมการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และผู้ประกอบอาหาร 0 1,200.00 1,200.00
1 มิ.ย. 65 - 16 เม.ย. 66 กิจกรรมทำความสะอาดบริเวณศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก 0 0.00 0.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กไม่เป็นโรคติด เด็กสุขภาพดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ม.ค. 2565 10:35 น.