โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-02 เลขที่ข้อตกลง 22/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5307-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,914.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันเด็ก เยาวชน และประชาชนหมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน มีการเล่นกีฬาออกกำลังกายตามความชอบ ความสนใจ อยู่จำนวนหนึ่ง เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล วิ่ง เดิน ปันจักรยาน แต่เนื่องจากปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์ในการใช้สำหรับการออกกำลังกายและอุปกรณ์กีฬาไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน ทำให้การเล่นกีฬา ออกกำลังกายยั่งไม่ทั่วถึง ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กนั้ย จะสร้างความแข็งแรงของหัวใจ กล้ามเนื้อและกระดูก พัฒนาการเคลื่อนไหว สร้างความเชื้อมั่นในตัวเอง เสริมทักษะการเข้าสังคม พัฒนาสมอง การคิดวิเคราะห์ และพัฒนาภาวะทางสมอง โดยในวัยเด็กควรมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางขึ้นไป อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน แต่จากการสำรวจ พบว่า ปัจจุบัน กลุ่มเด็กมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายลดลง ขณะที่กลุ่มอื่นมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น สำหรับอุปสรรคของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทยนั้น สาเหตุสำคัญเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง อันได้แก่ การนั่งดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์ รวมถึงการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรกนิกส์พกพาประเภทต่างๆ มากกว่ากลุ่มอื่นๆ โดยเฉลี่ยแล้วใช้เวลาอยู่หน้าจอนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อวันและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจาการส่งเสรริมกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันแล้วยังจะต้องดำเนินการควบคุ่กับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและพื้นที่เพื่อผู้คนได้มีกิจกรรมทางกายเป็นวิถีชีวิต ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายจึงนับว่าสำคัญยิ่ง จากเดิมชุมชนบ้านทุ่งวิมานมีพื้นที่ออกกำลังกาย จำนวน3 แห่ง 1.สนามบอล กศน. 2.สนามบอลโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน 3.สนามบอลเลย์บอลโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ชุมชนบ้านทุ่งวิมานต้องการเพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน จำนวน 2 แห่ง1. บริเวณตลาดนัดวัฒนธรรมบ้านทุ่งวิมาน 3.สนามหน้ามัสยิดญัณนะตุ้ลนะอีมบ้านทุ่งวิมาน เพื่อให้ชุมชนเกิดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะให้มีกิจกรรรมทางกายของคนในชุมชน ตามความเหมาะสมของแต่ละช่วงวัย เช่น เยาวชน ออกกำลังกายรูปแบบ กลุ่มตลาดนัดสุขภาพชุมชนบ้านทุ่งวิมาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อ เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนและเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของกลุ่มอายุ 18 - 65 ปี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม
- ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกกรมทางกายในชุมชนมากขึ้น
2.ผู้เข้าร่วมโครงการ อายุ 18 - 65 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) มีจำนวนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม
วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
รับสมัครผู้ที่ภาวะน้ำหนักเกิน รอบเอวเกิน ในกลุ่มเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค คือ กลุ่มเยาวชน จำนวน 20 คน กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 20 คน บรรลุตามเป้าหมาย
0
0
2. เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน
วันที่ 28 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันที่เหมาะสมกับวัยเยาวชน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเยาวชนสมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
0
0
3. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน
วันที่ 29 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำเหมาะสมกับวัยวัยทำงาน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้สมัครกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน
0
0
4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- อบรมให้ความรู้เรื่องกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำเหมาะสมกับวัยผู้สูงอายุ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
0
0
5. ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม
วันที่ 23 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมคณะกรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพ สรุป ประเด็น ปัญหาของการจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้รับผิดชอบโครงการได้รับ ปัญหา อุปสรรคในการจัดกิจกรรม
0
0
6. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม
วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ประชุมติดตาม ประเมิน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม จำนวน 20 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อ มีกิจรรมทางกายที่เพียงพอ
0
0
7. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตาม ประเมิน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
0
0
8. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตาม ประเมิน และสรุปผลการดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และมีกิจกรรมทางกาย
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่้เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
3.00
5.00
2
เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่ม 18-65 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
50.00
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
20
กลุ่มวัยทำงาน
20
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม (3) เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน (4) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน (5) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ (6) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม (7) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม (8) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม (9) ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-02 เลขที่ข้อตกลง 22/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5307-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,914.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 60 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันเด็ก เยาวชน และประชาชนหมู่ที่ 2 บ้านทุ่งวิมาน มีการเล่นกีฬาออกกำลังกายตามความชอบ ความสนใจ อยู่จำนวนหนึ่ง เช่น ฟุตบอล วอลเลย์บอล วิ่ง เดิน ปันจักรยาน แต่เนื่องจากปัจจุบันมีจำนวนอุปกรณ์ในการใช้สำหรับการออกกำลังกายและอุปกรณ์กีฬาไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน ทำให้การเล่นกีฬา ออกกำลังกายยั่งไม่ทั่วถึง ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและเหมาะสมตั้งแต่วัยเด็กนั้ย จะสร้างความแข็งแรงของหัวใจ กล้ามเนื้อและกระดูก พัฒนาการเคลื่อนไหว สร้างความเชื้อมั่นในตัวเอง เสริมทักษะการเข้าสังคม พัฒนาสมอง การคิดวิเคราะห์ และพัฒนาภาวะทางสมอง โดยในวัยเด็กควรมีกิจกรรมทางกายระดับปานกลางขึ้นไป อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน แต่จากการสำรวจ พบว่า ปัจจุบัน กลุ่มเด็กมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายลดลง ขณะที่กลุ่มอื่นมีอัตราการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น สำหรับอุปสรรคของการมีกิจกรรมทางกายของคนไทยนั้น สาเหตุสำคัญเป็นผลมาจากการมีพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง อันได้แก่ การนั่งดูโทรทัศน์ ใช้คอมพิวเตอร์ รวมถึงการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรกนิกส์พกพาประเภทต่างๆ มากกว่ากลุ่มอื่นๆ โดยเฉลี่ยแล้วใช้เวลาอยู่หน้าจอนานกว่า 1 ชั่วโมงต่อวันและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจาการส่งเสรริมกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวันแล้วยังจะต้องดำเนินการควบคุ่กับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและพื้นที่เพื่อผู้คนได้มีกิจกรรมทางกายเป็นวิถีชีวิต ความสำคัญของสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายจึงนับว่าสำคัญยิ่ง จากเดิมชุมชนบ้านทุ่งวิมานมีพื้นที่ออกกำลังกาย จำนวน3 แห่ง 1.สนามบอล กศน. 2.สนามบอลโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน 3.สนามบอลเลย์บอลโรงเรียนบ้านทุ่งวิมาน ชุมชนบ้านทุ่งวิมานต้องการเพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน จำนวน 2 แห่ง1. บริเวณตลาดนัดวัฒนธรรมบ้านทุ่งวิมาน 3.สนามหน้ามัสยิดญัณนะตุ้ลนะอีมบ้านทุ่งวิมาน เพื่อให้ชุมชนเกิดการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะให้มีกิจกรรรมทางกายของคนในชุมชน ตามความเหมาะสมของแต่ละช่วงวัย เช่น เยาวชน ออกกำลังกายรูปแบบ กลุ่มตลาดนัดสุขภาพชุมชนบ้านทุ่งวิมาน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อ เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนและเพิ่มกิจกรรมทางกายที่เพียงพอของกลุ่มอายุ 18 - 65 ปี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
- ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม
- เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน
- ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม
- ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม
- ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกกรมทางกายในชุมชนมากขึ้น 2.ผู้เข้าร่วมโครงการ อายุ 18 - 65 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) มีจำนวนเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม |
||
วันที่ 22 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำรับสมัครผู้ที่ภาวะน้ำหนักเกิน รอบเอวเกิน ในกลุ่มเยาวชน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค คือ กลุ่มเยาวชน จำนวน 20 คน กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน 20 คน บรรลุตามเป้าหมาย
|
0 | 0 |
2. เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน |
||
วันที่ 28 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเยาวชนสมัครเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
|
0 | 0 |
3. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน |
||
วันที่ 29 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้สมัครกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน
|
0 | 0 |
4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2565กิจกรรมที่ทำ-ทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน
|
0 | 0 |
5. ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 23 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมคณะกรรมการกลุ่มตลาดนัดสุขภาพ สรุป ประเด็น ปัญหาของการจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้รับผิดชอบโครงการได้รับ ปัญหา อุปสรรคในการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
6. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 28 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำประชุมติดตาม ประเมิน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม จำนวน 20 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทราบภาวะโภชนาการของตนเองเพื่อ มีกิจรรมทางกายที่เพียงพอ
|
0 | 0 |
7. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 29 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตาม ประเมิน สรุปผลการดำเนินกิจกรรมกลุ่มวัยทำงาน จำนวน 20 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
|
0 | 0 |
8. ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม |
||
วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตาม ประเมิน และสรุปผลการดำเนินกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และมีกิจกรรมทางกาย
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : จำนวนของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะที่้เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน |
3.00 | 5.00 |
|
|
2 | เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่ม 18-65 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมากอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) |
50.00 | 70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 20 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอและกลุ่มอายุ 18-65 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน (2) ประชาสัมพันธ์ รณรงค์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม (3) เพิ่มกิจกรรมทางกายในกลุ่มเยาวชน (4) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายวัยกลุ่มทำงาน (5) ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มผู้สูงอายุ (6) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มเยาวชนหลังดำเนินกิจกรรม (7) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มวัยทำงานหลังดำเนินกิจกรรม (8) ติดตาม ประเมิน สรุปผลกลุ่มผู้สูงอายุหลังดำเนินกิจกรรม (9) ถอดบทเรียน สรุปผล ประเด็น ปัญหาการดำเนินกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพุง ลดโรค บ้านทุ่งวิมาน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 65-L5307-2-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสารีย๊ะ อาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......