กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียนวัดคูวา (เลื่อนประชาสฤษฎ์)
รหัสโครงการ 65-L5222-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนวัดคูวา (เลื่อนประชาสฤษฎ์)
วันที่อนุมัติ 24 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 10 มกราคม 2565 - 31 มีนาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 25,590.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประสิทธิ์ จันทร์ปาน
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านขาว อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 10 ม.ค. 2565 31 มี.ค. 2565 25,590.00
รวมงบประมาณ 25,590.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 83 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรค การคัดกรองอุณหภูมิ การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์

ร้อยละ 100 สามารถป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (Covid-19) ได้

0.00
2 ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนและบุคลากร มีความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการควบคุมโรค

ร้อยละ 100 สามารถสร้างความตระหนักและเห็นความสำคัญของการมีส่วนร่วมในการควบคุมโรค

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
10 ม.ค. 65 - 31 มี.ค. 65 กิจกรรมสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง สอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ตามแนวทางในการสอบสวนโรคของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ 0 4,500.00 -
10 ม.ค. 65 - 31 มี.ค. 65 กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อ ไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และการดำเนินชีวิตวิถี ใหม่ New Normal 0 0.00 -
10 ม.ค. 65 - 31 มี.ค. 65 กิจกรรมตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน โดยคณะครูและบุคลากรโรงเรียน รวมถึงผู้มาติดต่อราชการ 0 21,090.00 -
รวม 0 25,590.00 0 0.00
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน   - วางแผน กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย เนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ   - จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ   - ติดต่อประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง   - จัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ประกอบการดำเนินงานโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
      (Covid-19)   2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านขาว   3. ขั้นตอนการดำเนินงาน   - รณรงค์เรื่องการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพื่อดำเนินการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ เพื่อให้นักเรียนและบุคลากรรับรู้ข้อมูลสถานการณ์ผ่านช่องทางต่างๆ เช่น แจกเอกสารแผ่นพับ   - สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังสอบสวนและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
    ตามแนวทางในการ สอบสวนโรคและควบคุมโรค กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ   - การจัดหาวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ให้กับครูนักเรียนและบุคลากร   - ตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ในโรงเรียน โดยคณะครูและบุคลากรของโรงเรียนรวมถึงผู้มาติดต่อราชการ   - ติดตามสถานการณ์เฝ้าระวังสถานการณ์และประชาสัมพันธ์ให้ครูและนักเรียนทราบเป็นระยะ   - อบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และการดำเนินชีวิตวิถีใหม่ New Normal   - สรุป ผลการดำเนินงานและรายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. วิธีจัดกระบวนการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) โดยการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังโรคป้องกันโรคการคัดกรองอุณหภูมิ การเว้นระยะห่างทางสังคม การทำความสะอาดพื้นที่การให้บริการหรือพื้นที่ที่มีคนอยู่รวมกัน ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นระยะเวลานาน และส่งเสริมด้านสุขอนามัยโดยการล้างมือด้วยสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ในโรงเรียนวัดคูวา (เลื่อนประชาสฤษฎ์)
    1. มีการตรวจคัดกรองและเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพื่อเฝ้าระวังควบคุมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้กับนักเรียนและบุคลากรโรงเรียนวัดคูวา (เลื่อนประชาสฤษฎ์)
    2. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความพร้อมในการเผชิญกับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
    3. นักเรียนและบุคลากร มีความรู้ความเข้าใจ และความตระหนักในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อได้
    4. ไม่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ภายในโรงเรียนวัดคูวา (เลื่อนประชาสฤษฎ์) สู่ชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 20 ม.ค. 2565 15:51 น.